sysid
stringlengths
1
6
title
stringlengths
8
870
txt
stringlengths
0
257k
583314
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง รายงานการรับจ่ายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง รายงานการรับจ่ายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน[๑] ด้วยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๘ ทวิ วรรคสี่ กำหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศรายงานการรับจ่ายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงขอประกาศรายงานการรับจ่ายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ ดังต่อไปนี้ หน่วย : บาท ๒๕๔๘ ๒๕๔๗ รายได้จากการดำเนินงาน รายได้ค่าชลประทาน ๓๗๔,๘๙๘,๒๑๑.๔๙ ๓๓๔,๐๓๑,๒๗๖.๙๓ รายได้อื่น ๒๖๓,๘๕๖.๐๒ ๑๙๕,๖๒๘.๐๗ รวมรายได้จากการดำเนินงาน ๓๗๕,๑๖๒,๐๖๗.๕๑ ๓๓๔,๒๒๖,๙๐๕.๐๐ ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ๔,๘๒๗,๓๔๕.๕๐ ๓,๓๐๙,๐๗๖.๒๖ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ๑๔,๒๔๙,๒๒๙.๑๔ ๑๑,๗๗๔,๔๓๓.๒๙ ค่าเสื่อมราคา ๖๔,๗๐๕,๖๙๓.๐๐ ๔๗,๘๑๑,๖๔๔.๐๐ รวมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ๘๓,๗๘๒,๒๖๗.๖๔ ๖๒,๘๙๕,๑๕๓.๕๕ รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย ๒๙๑,๓๗๙,๗๙๙.๘๗ ๒๗๑,๓๓๑,๗๕๑.๔๕ งบดุล ๒๕๔๘ ๒๕๔๗ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ๖๐๕,๒๑๗,๒๙๒.๐๔ ๓๘๓,๑๖๐,๐๒๑.๔๓ เงินโอนระหว่างทาง ๘๑,๔๓๐,๙๖๕.๔๙ ๑๘,๐๕๑,๔๔๐.๙๕ เงินทุนโอนให้จังหวัด ๘,๔๐๓,๓๒๘.๒๓ ๓,๘๗๙,๙๙๖.๖๙ ลูกหนี้ค่าชลประทาน ๓๘๘,๗๑๕,๘๑๐.๔๔ ๓๘๘,๐๑๕,๑๑๘.๒๘ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ๗๖,๙๐๐.๘๒ ๓๓,๓๙๕.๘๔ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ๑,๐๘๓,๘๔๔,๒๙๗.๐๒ ๗๙๓,๑๓๙,๙๗๓.๑๙ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เครื่องจักรและอุปกรณ์-สุทธิ ๒๑๔,๑๒๒,๙๘๐.๙๖ ๒๐๖,๙๑๒,๕๓๔.๐๖ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ๒๑๔,๑๒๒,๙๘๐.๙๖ ๒๐๖,๙๑๒,๕๓๔.๐๖ รวมสินทรัพย์ ๑,๒๙๗,๙๖๗,๒๗๗.๙๘ ๑,๐๐๐,๐๕๒,๕๐๗.๒๕ หนี้สินและส่วนของทุน หนี้สินหมุนเวียน ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - ๒๓,๕๘๐.๐๐ เจ้าหนี้ ๘,๙๒๒,๓๔๗.๙๐ ๑,๑๑๒,๐๗๕.๐๐ เจ้าหนี้กรมสรรพากร ๑๕๔,๕๖๘.๙๔ ๑,๔๓๖,๒๙๐.๙๘ รวมหนี้สิน ๙,๐๗๖,๙๑๖.๘๔ ๒,๕๗๑,๙๔๕.๙๘ ส่วนของทุน รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายสะสม ยอดยกมาก่อนปรับปรุง ๙๙๗,๔๘๐,๕๖๑.๒๗ ๗๒๖,๑๔๘,๘๐๙.๘๒ บวก ปรับปรุงค่าใช้จ่าย ที่บันทึกซ้ำในปี ๒๕๔๗ ๓๐,๐๐๐.๐๐ - งบดุล ๒๕๔๘ ๒๕๔๗ ยอดยกมาหลังปรับปรุง ๙๙๗,๕๑๐,๕๖๑.๒๗ ๗๒๖,๑๔๘,๘๐๙.๘๒ บวก รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย ๒๙๑,๓๗๙,๗๙๙.๘๗ ๒๗๑,๓๓๑,๗๕๑.๔๕ ส่วนของทุน ๑,๒๘๘,๘๙๐,๓๖๑.๑๔ ๙๙๗,๔๘๐,๕๖๑.๒๗ รวมหนี้สินและส่วนของทุน ๑,๒๙๗,๙๖๗,๒๗๗.๙๘ ๑,๐๐๐,๐๕๒,๕๐๗.๒๕ ประกาศ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๗๖ ง/หน้า ๔/๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑
575792
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 1/2551)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๑/๒๕๕๑)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกบัญชีทางน้ำชลประทานในเขตโครงการชลประทานร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ ลำดับที่ ๑ อ่างเก็บน้ำห้วยแอ่ง ตามท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ฉบับลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๘ ๒. กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการชลประทานร้อยเอ็ด เป็นทางนํ้าชลประทานประเภท ๔ จำนวน ๑ ทางน้ำ ตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานร้อยเอ็ด (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๑) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ ๙ เมษายน ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๓/๒ เมษายน ๒๕๕๑
573282
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 12/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๑๒/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ฉบับลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ในเขตโครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าสัก ๒. กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ จำนวน ๑ ทางน้ำ ตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๑๒/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๕๒ ง/หน้า ๑/๑๒ มีนาคม ๒๕๕๑
570409
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 11/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๑๑/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลุ่มน้ำปากพนังตอนล่าง เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ จำนวน ๑ ทางน้ำ เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ จำนวน ๔ ทางน้ำ ตามบัญชีแนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกร [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลุ่มน้ำปากพนังตอนล่าง (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๑๑ / ๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๗ ง/หน้า ๒/๒๔ มกราคม ๒๕๕๑
570407
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 10/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๑๐/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกบัญชีทางน้ำชลประทานในเขตโครงการชลประทานนครนายก ซึ่งเป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ ลำดับที่ ๑ คลองท่าด่าน ตามท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๓ ๒. กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนขุนด่านปราการชล เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ รวม ๒ ทางน้ำ ตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนขุนด่านปราการชล (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๑๐ / ๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๗ ง/หน้า ๑/๒๔ มกราคม ๒๕๕๑
570193
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 9/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๙/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการชลประทานจันทบุรี เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ จำนวน ๑ ทางน้ำ ตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานจันทบุรี (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๙/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕ ง/หน้า ๔/๒๒ มกราคม ๒๕๕๑
570189
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 8/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๘/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการชลประทานพิษณุโลก เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ จำนวน ๒ ทางน้ำ เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ จำนวน ๕ ทางน้ำ ตามบัญชีแนบท้ายประกาศ และกำหนดให้ทางน้ำชลประทานในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนนเรศวร และโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนแควน้อย เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ รวม ๕ ทางน้ำ ตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานพิษณุโลก(แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๘/๒๕๕๐) ๒. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนนเรศวร(แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๘/๒๕๕๐) ๓. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนแควน้อย(แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๘/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕ ง/หน้า ๓/๒๒ มกราคม ๒๕๕๑
570187
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 7/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๗/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการชลประทานสงขลา เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ จำนวน ๑ ทางน้ำ ในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ จำนวน ๑ ทางน้ำ และในเขตโครงการชลประทานสตูล เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ จำนวน ๘ ทางน้ำ เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ จำนวน ๒ ทางน้ำ ตามบัญชีแนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานสงขลา (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๗/๒๕๕๐) ๒. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๗/๒๕๕๐) ๓. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานสตูล (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๗/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕ ง/หน้า ๒/๒๒ มกราคม ๒๕๕๑
570183
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 6/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๖/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการชลประทานศรีสะเกษเป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ รวม ๕ ทางน้ำ ตามบัญชีและแผนที่ แนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานศรีสะเกษ (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๖/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕ ง/หน้า ๑/๒๒ มกราคม ๒๕๕๑
569460
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 5/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๕/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ รวม ๒ ทางน้ำ ในเขตโครงการชลประทานลพบุรี ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานลพบุรี (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๕/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๕ ง/หน้า ๕/๘ มกราคม ๒๕๕๑
569444
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 4/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๔/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการชลประทานแพร่เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ รวม ๑๕ ทางน้ำ ตามบัญชีแนบท้ายประกาศ และกำหนดให้ทางน้ำในเขตโครงการชลประทานเชียงใหม่ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว และโครงการชลประทานเชียงราย เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ รวม ๒๒ ทางน้ำ ตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศ ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานแพร่ (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๔/๒๕๕๐) ๒. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานเชียงราย (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๔/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๕ ง/หน้า ๔/๘ มกราคม ๒๕๕๑
569440
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 3/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๓/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ รวม ๕ ทางน้ำ ทางน้ำชลประทานประเภท ๔ รวม ๑๑ ทางน้ำ ในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาประแสร์ และโครงการชลประทานตรัง ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาประแสร์ (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๓/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๕ ง/หน้า ๓/๘ มกราคม ๒๕๕๑
569434
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 2/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๒/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ รวม ๔ ทางน้ำ ในเขตโครงการชลประทานลพบุรีและโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสามชุก ประกาศ ณ วันที่ ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานลพบุรี (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๒ / ๒๕๕๐) ๒. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสามชุก (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๒ / ๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๕ ง/หน้า ๒/๘ มกราคม ๒๕๕๑
569426
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 1/2550)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๑/๒๕๕๐)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดให้ทางน้ำตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ รวม ๔๒ ทางน้ำ ทางน้ำชลประทานประเภท ๔ รวม ๑๖ ทางน้ำ ในเขตโครงการชลประทานสงขลา ประกาศ ณ วันที่ ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานสงขลา (แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๐) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๑ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๕ ง/หน้า ๑/๘ มกราคม ๒๕๕๑
516351
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 2/2549)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๒/๒๕๔๙)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดทางน้ำในเขตโครงการชลประทานฉะเชิงเทรา แนบท้ายประกาศนี้ เป็นทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานฉะเชิงเทรา (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) โสรศ/ผู้จัดทำ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๑๑๖ ง/หน้า ๙/๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
516348
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 (ฉบับที่ 1/2549)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ (ฉบับที่ ๑/๒๕๔๙)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดทางน้ำตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศนี้ เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ และประเภท ๔ ในเขตโครงการชลประทานร้อยเอ็ด โครงการชลประทานอำนาจเจริญ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาประแสร์ โครงการชลประทานตราด โครงการชลประทานลพบุรี และโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสองพี่น้อง ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานร้อยเอ็ด ๒. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานอำนาจเจริญ ๓. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาประแสร์ ๔. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานตราด ๕. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานลพบุรี ๖. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสองพี่น้อง (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) โสรศ/ผู้จัดทำ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๑๑๖ ง/หน้า ๘/๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
503634
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2585
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดทางน้ำในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาระโนด-กระแสสินธุ์ ตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาระโนด-กระแสสินธุ์ (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) นันทนา/ผู้จัดทำ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๙ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๗๘ ง/หน้า ๕/๑๐ สิงหาคม ๒๕๔๙
491908
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดทางน้ำในเขตโครงการชลประทานปัตตานีตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานปัตตานี เลขที่ ชื่อทางน้ำ กำหนดเขต จาก ถึง ทางน้ำชลประทานประเภท ๑ ๑. คลองระบายน้ำ สายตะวันออกพรุแฆแฆ (ยาว ๑๔.๗๐๐ กม.) ปลายคลองแฆแฆ กิโลเมตรที่ ๓.๕๑๖ ตำบลน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี กิโลเมตรที่ ๑๘.๒๑๖ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ทางน้ำชลประทานประเภท ๔ ๑. แม่น้ำสายบุรี (ยาว ๑๒.๐๐๐ กม.) จากปากแม่น้ำสายบุรี กิโลเมตรที่ ๐.๐๐๐ ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี กิโลเมตรที่ ๑๒.๐๐๐ ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี พัชรินทร์/ผู้จัดทำ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๙ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๕๒ ง/หน้า ๑๔/๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๙
480724
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ดังนี้ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๔๒ โครงการชลประทานตราด ทางน้ำชลประทานประเภท ๔ เลขที่ ๒ ๒. ให้กำหนดทางน้ำตามบัญชีท้ายประกาศนี้ เป็นทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานตราด (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) นันทนา/ผู้จัดทำ ๑ มีนาคม ๒๕๔๙ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๑๖ ง/หน้า ๙/๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
477493
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ดังนี้ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๐ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพลายชุมพล ทางน้ำชลประทานประเภท ๑ เลขที่ ๑ ๒. ให้กำหนดทางน้ำตามบัญชีท้ายประกาศนี้ เป็นทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพลายชุมพล (ดูข้อมูลจกภาพกฎหมาย) ชัชสรัญ/ผู้จัดทำ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๑๒ ง/หน้า ๑๗/๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
722421
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดทางน้ำชลประทานตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ ในเขตโครงการชลประทานอุตรดิตถ์และโครงการชลประทานสมุทรสาคร ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานอุตรดิตถ์ ๒. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานสมุทรสาคร (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) พชร/ผู้จัดทำ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง/หน้า ๙/๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๘
463479
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตร เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ดังนี้ ๑.๑ ประกาศกระทรวงเกษตร ลงวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๐๕ โครงการชลประทานทุ่งสัมฤทธิ์ ทางน้ำชลประทานประเภท ๑ เลขที่ ๑ – ๑๐ ทางน้ำชลประทานประเภท ๔ เลขที่ ๑ ๒. ให้กำหนดทางน้ำตามบัญชีท้ายประกาศนี้ เป็นทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาทุ่งสัมฤทธิ์ (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) พชร/ผู้จัดทำ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง/หน้า ๘/๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๘
463477
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดทางน้ำชลประทานตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๔ ในเขตโครงการชลประทานอุตรดิตถ์และโครงการชลประทานสมุทรสาคร ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานอุตรดิตถ์ ๒. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานสมุทรสาคร (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) พชร/ผู้จัดทำ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง/หน้า ๗/๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๘
463473
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ดังนี้ ๑.๑ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๔๒ โครงการชลประทานประจวบคีรีขันธ์ ทางน้ำชลประทานประเภท ๔ เลขที่ ๑ ๒. ให้กำหนดทางน้ำตามบัญชีท้ายประกาศนี้ เป็นทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานประจวบคีรีขันธ์ (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) พชร/ผู้จัดทำ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง/หน้า ๖/๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๘
460278
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ทำนบดินหัวงานและอาคารประกอบ ตามโครงการอ่างเก็บน้ำคลองบางเหนียวดำ แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การสร้างอ่างเก็บน้ำ ทำนบดินหัวงานและอาคารประกอบดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อเป็นแหล่งเก็บกักน้ำดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำประปา และเพื่อการอุปโภคบริโภค ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำ กัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายคณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ฐิติพงษ์/ผู้จัดทำ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนพิเศษ ๖๐ ง/หน้า ๑/๔ สิงหาคม ๒๕๔๘
456784
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลคันโช้ง ตำบลบ้านยาง ตำบลท่างาม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลท้อแท้ อำเภอวัดโบสถ์ ตำบลทับยายเชียง ตำบลหอกลอง อำเภอพรหมพิราม ตำบลบ้านกลาง ตำบลวังทอง ตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา อำเภอวังทอง และตำบลบ้านป่า ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลดอนทอง ตำบลสมอแข ตำบลอรัญญิก ตำบลในเมือง ตำบลบึงพระ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลคันโช้ง ตำบลบ้านยาง ตำบลท่างาม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลท้อแท้ อำเภอวัดโบสถ์ ตำบลทับยายเชียง ตำบลหอกลอง อำเภอพรหมพิราม ตำบลบ้านกลาง ตำบลวังทอง ตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา อำเภอวังทอง และตำบลบ้านป่า ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลดอนทอง ตำบลสมอแข ตำบลอรัญญิก ตำบลในเมือง ตำบลบึงพระ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลคันโช้ง ตำบลบ้านยาง ตำบลท่างาม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลท้อแท้ อำเภอวัดโบสถ์ ตำบลทับยายเชียงตำบลหอกลอง อำเภอพรหมพิราม ตำบลบ้านกลาง ตำบลวังทอง ตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา อำเภอวังทอง และตำบลบ้านป่า ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลดอนทอง ตำบลสมอแข ตำบลอรัญญิก ตำบลในเมือง ตำบลบึงพระ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อก่อสร้างเขื่อนแควน้อย ระบบส่งน้ำ และระบบระบายน้ำ ตามโครงการเขื่อนแควน้อยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างเขื่อนแควน้อย ระบบส่งน้ำ และระบบระบายน้ำดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อเก็บกักน้ำสำหรับพื้นที่เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การอุปโภคและบริโภค ตลอดจนป้องกันและบรรเทาอุทกภัย ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลคันโช้ง ตำบลบ้านยาง ตำบลท่างาม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลท้อแท้ อำเภอวัดโบสถ์ ตำบลทับยายเชียงตำบลหอกลอง อำเภอพรหมพิราม ตำบลบ้านกลาง ตำบลวังทอง ตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา อำเภอวังทอง และตำบลบ้านป่า ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลดอนทอง ตำบลสมอแขตำบลอรัญญิก ตำบลในเมือง ตำบลบึงพระ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลคันโช้ง ตำบลบ้านยาง ตำบลท่างาม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลท้อแท้ อำเภอวัดโบสถ์ ตำบลทับยายเชียง ตำบลหอกลอง อำเภอพรหมพิราม ตำบลบ้านกลาง ตำบลวังทอง ตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา อำเภอวังทอง และตำบลบ้านป่า ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลดอนทอง ตำบลสมอแข ตำบลอรัญญิก ตำบลในเมือง ตำบลบึงพระ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้น ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ศุภสรณ์/ผู้จัดทำ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนพิเศษ ๑๔ ง/หน้า ๑/๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘
455746
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดทางน้ำชลประทาน ตามบัญชีและแผนที่แนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๗ วันมูหะมัดนอร์ มะทา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พุทธพัท/ผู้จัดทำ ๘ มิถุนายน ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนที่ ๒๔ ง/หน้า ๓๓/๒๔ มีนาคม ๒๕๔๘
451470
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าไร่ ตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ตำบลคลองน้อย ตำบลปากพนังฝั่งตะวันตก ตำบลคลองกระบือ ตำบลหูล่อง ตำบลชะเมา ตำบลเกาะทวด ตำบลบ้านเพิง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลท่าพยา ตำบลปากแพรก ตำบลป่าระกำ ตำบลบางศาลา ตำบลขนาบนาก ตำบลบางตะพง อำเภอปากพนัง ตำบลทางพูน ตำบลดอนตรอ ตำบลเชียรเขา ตำบลสวนหลวง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ตำบลเชียรใหญ่ ตำบลไสหมาก ตำบลบ้านเนิน ตำบลเสือหึง ตำบลท้องลำเจียก ตำบลท่าขนาน ตำบลบ้านกลาง ตำบลการะเกด ตำบลแม่เจ้าอยู่หัว ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ และตำบลท่าซอม ตำบลบางนบ ตำบลบ้านราม ตำบลทรายขาว ตำบลหัวไทร ตำบลแหลม ตำบลเขาพังไกร อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าไร่ ตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ตำบลคลองน้อย ตำบลปากพนังฝั่งตะวันตก ตำบลคลองกระบือ ตำบลหูล่อง ตำบลชะเมา ตำบลเกาะทวด ตำบลบ้านเพิง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลท่าพยา ตำบลปากแพรก ตำบลป่าระกำ ตำบลบางศาลา ตำบลขนาบนาก ตำบลบางตะพง อำเภอปากพนัง ตำบลทางพูน ตำบลดอนตรอ ตำบลเชียรเขา ตำบลสวนหลวง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ตำบลเชียรใหญ่ ตำบลไสหมาก ตำบลบ้านเนิน ตำบลเสือหึง ตำบลท้องลำเจียก ตำบลท่าขนาน ตำบลบ้านกลาง ตำบลการะเกด ตำบลแม่เจ้าอยู่หัว ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ และตำบลท่าซอม ตำบลบางนบ ตำบลบ้านราม ตำบลทรายขาว ตำบลหัวไทร ตำบลแหลม ตำบลเขาพังไกร อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลท่าไร่ ตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ตำบลคลองน้อย ตำบลปากพนังฝั่งตะวันตก ตำบลคลองกระบือ ตำบลหูล่อง ตำบลชะเมา ตำบลเกาะทวด ตำบลบ้านเพิง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลท่าพยา ตำบลปากแพรก ตำบลป่าระกำ ตำบลบางศาลา ตำบลขนาบนาก ตำบลบางตะพง อำเภอปากพนัง ตำบลทางพูน ตำบลดอนตรอ ตำบลเชียรเขา ตำบลสวนหลวง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ตำบลเชียรใหญ่ ตำบลไสหมาก ตำบลบ้านเนิน ตำบลเสือหึง ตำบลท้องลำเจียก ตำบลท่าขนาน ตำบลบ้านกลาง ตำบลการะเกด ตำบลแม่เจ้าอยู่หัว ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ และตำบลท่าซอม ตำบลบางนบ ตำบลบ้านราม ตำบลทรายขาว ตำบลหัวไทร ตำบลแหลม ตำบลเขาพังไกร อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อดำเนินการขุดคลองธรรมชาติและคลองชักน้ำพร้อมอาคารโรงสูบน้ำ อาคารสะพานข้ามคลองและท่อระบายน้ำ ตามโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การดำเนินการขุดคลองธรรมชาติและคลองชักน้ำ พร้อมอาคารโรงสูบน้ำ อาคารสะพานข้ามคลองและท่อระบายน้ำดังกล่าว เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งและเก็บกักน้ำไว้สำหรับพื้นที่เพาะปลูก อุปโภค บริโภค และเป็นแหล่งเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำจืดตลอดจนช่วยระบายน้ำออกสู่ทะเลได้โดยสะดวกและรวดเร็ว อันเป็นการบรรเทาอุทกภัย ซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าไร่ ตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ตำบลคลองน้อย ตำบลปากพนังฝั่งตะวันตก ตำบลคลองกระบือ ตำบลหูล่อง ตำบลชะเมา ตำบลเกาะทวด ตำบลบ้านเพิง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลท่าพยา ตำบลปากแพรก ตำบลป่าระกำ ตำบลบางศาลา ตำบลขนาบนาก ตำบลบางตะพง อำเภอปากพนัง ตำบลทางพูน ตำบลดอนตรอ ตำบลเชียรเขา ตำบลสวนหลวง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ตำบลเชียรใหญ่ ตำบลไสหมาก ตำบลแม่เจ้าอยู่หัว ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ และตำบลท่าซอม ตำบลบางนบ ตำบลบ้านเนิน ตำบลเสือหึง ตำบลท้องลำเจียก ตำบลท่าขนาน ตำบลบ้านกลาง ตำบลการะเกด ตำบลบ้านราม ตำบลทรายขาว ตำบลหัวไทร ตำบลแหลม ตำบลเขาพังไกร อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลท่าไร่ ตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ตำบลคลองน้อย ตำบลปากพนังฝั่งตะวันตก ตำบลคลองกระบือ ตำบลหูล่อง ตำบลชะเมา ตำบลเกาะทวด ตำบลบ้านเพิง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลท่าพยา ตำบลปากแพรก ตำบลป่าระกำ ตำบลบางศาลา ตำบลขนาบนาก ตำบลบางตะพง อำเภอปากพนัง ตำบลทางพูน ตำบลดอนตรอ ตำบลเชียรเขา ตำบลสวนหลวง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ตำบลเชียรใหญ่ ตำบลไสหมาก ตำบลบ้านเนิน ตำบลเสือหึง ตำบลท้องลำเจียก ตำบลท่าขนาน ตำบลบ้านกลาง ตำบลการะเกด ตำบลแม่เจ้าอยู่หัว ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ และตำบลท่าซอม ตำบลบางนบ ตำบลบ้านราม ตำบลทรายขาว ตำบลหัวไทร ตำบลแหลม ตำบลเขาพังไกร อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วนเพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้น ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี สุภาพร/พิมพ์ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑/ตอนพิเศษ ๑๐๔ ง/หน้า ๓/๒๒ กันยายน ๒๕๔๗
451467
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลหินตั้ง ตำบลศรีนาวา ตำบลบ้านใหญ่ อำเภอเมืองนครนายก และตำบลเกาะหวาย ตำบลเกาะโพธิ์ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลหินตั้ง ตำบลศรีนาวา ตำบลบ้านใหญ่ อำเภอเมืองนครนายก และตำบลเกาะหวาย ตำบลเกาะโพธิ์ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลหินตั้ง ตำบลศรีนาวา ตำบลบ้านใหญ่ อำเภอเมืองนครนายก และตำบลเกาะหวาย ตำบลเกาะโพธิ์ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อก่อสร้างระบบส่งน้ำและระบายน้ำ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาลุ่มน้ำนครนายกตอนบน ตามโครงการเขื่อนคลองท่าด่านอันเนื่องมาจากพระราชดำริ แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างระบบส่งน้ำและระบายน้ำดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการเก็บกักน้ำไว้ใช้เป็นแหล่งน้ำสำหรับพื้นที่เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การอุปโภคและบริโภค ตลอดจนช่วยบรรเทาอุทกภัยซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลหินตั้ง ตำบลศรีนาวา ตำบลบ้านใหญ่ อำเภอเมืองนครนายก และตำบลเกาะหวาย ตำบลเกาะโพธิ์ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลหินตั้ง ตำบลศรีนาวา ตำบลบ้านใหญ่ อำเภอเมืองนครนายก และตำบลเกาะหวาย ตำบลเกาะโพธิ์ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี สุภาพร/พิมพ์ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ ธัญกมล/ศุภสรณ์/ตรวจ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ วิมล/ปรับปรุง ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑/ตอนพิเศษ ๑๐๔ ง/หน้า ๑/๒๒ กันยายน ๒๕๔๗
443763
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวนที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อก่อสร้างระบบผันน้ำอ่างเก็บน้ำคลองใหญ่ – อ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล ตามโครงการคลองใหญ่แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างระบบผันน้ำอ่างเก็บน้ำคลองใหญ่ – อ่างเก็บน้ำหนองปลาไหลดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการส่งน้ำให้กับพื้นที่การเกษตร อุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภค รวมทั้งพัฒนาลุ่มน้ำระยองให้เป็นแหล่งน้ำเสริมอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหลด้วย ซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ศุภชัย/พิมพ์ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ ศุภสรณ์/ธัญกมล/ตรวจ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ A+B วิมล/ปรับปรุง ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑/ตอนพิเศษ ๘๘ ง/หน้า ๑/๖ สิงหาคม ๒๕๔๗
441164
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดทางน้ำตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ สมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานร้อยเอ็ด (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) มยุรี/พิมพ์ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๗ ธัญกมล/ศุภสรณ์/ตรวจ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๗ A+B วิมล/ปรับปรุง ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบก เล่ม ๑๒๑/ตอนพิเศษ ๕๖ ง/หน้า ๑/๑๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗
441122
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลเมืองใหม่ อำเภอราชสาส์น ตำบลเมืองเก่า ตำบลท่าถ่าน ตำบลเกาะขนุน ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม ตำบลท่าทองหลาง ตำบลเสม็ดใต้ อำเภอบางคล้า ตำบลหัวสำโรง ตำบลแปลงยาว อำเภอแปลงยาว ตำบลคลองขุด ตำบลสิบเอ็ดศอก ตำบลแหลมประดู่ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา และตำบลท่าข้าม ตำบลสระสี่เหลี่ยม ตำบลหัวถนน ตำบลโคกเพลาะ ตำบลวัดหลวง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม ตำบลโคกขี้หนอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลเมืองใหม่ อำเภอราชสาส์น ตำบลเมืองเก่า ตำบลท่าถ่าน ตำบลเกาะขนุน ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม ตำบลท่าทองหลาง ตำบลเสม็ดใต้ อำเภอบางคล้า ตำบลหัวสำโรง ตำบลแปลงยาว อำเภอแปลงยาว ตำบลคลองขุด ตำบลสิบเอ็ดศอก ตำบลแหลมประดู่ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา และตำบลท่าข้าม ตำบลสระสี่เหลี่ยม ตำบลหัวถนน ตำบลโคกเพลาะ ตำบลวัดหลวง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม ตำบลโคกขี้หนอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลเมืองใหม่ อำเภอราชสาส์น ตำบลเมืองเก่า ตำบลท่าถ่าน ตำบลเกาะขนุน ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม ตำบลท่าทองหลาง ตำบลเสม็ดใต้ อำเภอบางคล้า ตำบลหัวสำโรง ตำบลแปลงยาว อำเภอแปลงยาว ตำบลคลองขุด ตำบลสิบเอ็ดศอก ตำบลแหลมประดู่ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา และตำบลท่าข้าม ตำบลสระสี่เหลี่ยม ตำบลหัวถนน ตำบลโคกเพลาะ ตำบลวัดหลวง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม ตำบลโคกขี้หนอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อก่อสร้างระบบส่งน้ำและระบบระบายน้ำ ตามโครงการคลองสียัดแล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างระบบส่งน้ำและระบบระบายน้ำดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการส่งน้ำสำหรับการประกอบเกษตรกรรมการอุปโภคบริโภค และการบรรเทาอุทกภัยบริเวณพื้นที่ท้ายอ่างเก็บน้ำ ซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลเมืองใหม่ อำเภอราชสาส์น ตำบลเมืองเก่า ตำบลท่าถ่าน ตำบลเกาะขนุน ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม ตำบลท่าทองหลาง ตำบลเสม็ดใต้ อำเภอบางคล้า ตำบลหัวสำโรง ตำบลแปลงยาว อำเภอแปลงยาว ตำบลคลองขุด ตำบลสิบเอ็ดศอก ตำบลแหลมประดู่ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา และตำบลท่าข้าม ตำบลสระสี่เหลี่ยม ตำบลหัวถนน ตำบลโคกเพลาะ ตำบลวัดหลวง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม ตำบลโคกขี้หนอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลเมืองใหม่ อำเภอราชสาส์น ตำบลเมืองเก่า ตำบลท่าถ่าน ตำบลเกาะขนุน ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม ตำบลท่าทองหลาง ตำบลเสม็ดใต้ อำเภอบางคล้า ตำบลหัวสำโรง ตำบลแปลงยาว อำเภอแปลงยาว ตำบลคลองขุด ตำบลสิบเอ็ดศอก ตำบลแหลมประดู่ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา และตำบลท่าข้าม ตำบลสระสี่เหลี่ยม ตำบลหัวถนน ตำบลโคกเพลาะ ตำบลวัดหลวง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม ตำบลโคกขี้หนอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พรพิมล/พิมพ์ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๗ สุนันทา/นวพร/ตรวจ ๒๑ กันยายน ๒๕๔๗ A+B วิมล/ปรับปรุง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑/ตอนพิเศษ ๗๗ ง/หน้า ๑/๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๗
435655
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลเขาพระ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลเขาพระ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลเขาพระ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อก่อสร้างคลองส่งน้ำสาย ๐๓ ตามโครงการชลประทานนครนายก แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างคลองส่งน้ำสาย ๐๓ ดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งน้ำเข้าพื้นที่การเกษตรบริเวณท้ายอ่างเก็บน้ำห้วยปรือ ซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลเขาพระ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลเขาพระ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๗ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มัตติกา/พิมพ์ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗ สุมลรัตน์/พัชรินทร์/ตรวจ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๗ A+B วิมล/ปรับปรุง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑/ตอนพิเศษ ๑๖ ง/หน้า ๑/๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
386776
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ตามโครงการอ่างเก็บน้ำคลองใหญ่ แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างอ่างเก็บน้ำดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค การอุตสาหกรรมและส่งน้ำให้พื้นที่การเกษตรที่อยู่ในเขตชลประทาน ซึ่งหากเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี วิมล/ผู้จัดทำ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๐/ตอนพิเศษ ๔๑ ง/หน้า ๑/๔ เมษายน ๒๕๔๖
374371
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลนาทุ่งและตำบลท่ายาง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
กหดหกดหกดหกด ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลนาทุ่งและตำบลท่ายาง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลนาทุ่ง และตำบลท่ายาง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อก่อสร้างคลองผันน้ำบ้านดอนทรายแก้ว และก่อสร้างคลองผันน้ำท่านางสังข์ – บ้านบางตุ่ม ตามโครงการบรรเทาอุทกภัยจังหวัดชุมพร แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างคลองผันน้ำบ้านดอนทรายแก้ว และคลองผันน้ำท่านางสังข์ – บ้านบางตุ่มดังกล่าว เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการบรรเทาอุทกภัยในเขตพื้นที่ตำบลนาทุ่ง และตำบลท่ายาง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลนาทุ่ง และตำบลท่ายาง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ตามพระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ ตำบลนาทุ่ง และตำบลท่ายาง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๖ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี [รก.๒๕๔๖/พ ๑๔ ง/๕/๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖] สุรสีห์/พิมพ์ ปาจรีย์/นิลวรรณ/จัดทำ
374365
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลพระซองอำเภอนาแก และตำบลโคกหินแฮ่ อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนมเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลพระซอง อำเภอนาแก และตำบลโคกหินแฮ่ อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลพระซอง อำเภอนาแก และตำบลโคกหินแฮ่ อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อก่อสร้างประตูระบายน้ำบ้านนาบัว ตามโครงการพัฒนาลุ่มน้ำก่ำอันเนื่องมาจากพระราชดำริ แล้ว นั้น อธิบดีกรมชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การสร้างประตูระบายน้ำบ้านนาบัวดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อช่วยแก้ปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรที่อาศัยในบริเวณสองฝั่งลำน้ำบังในจังหวัดนครพนม ที่มีน้ำท่วมพื้นที่เพาะปลูกเกิดความเสียหายในฤดูฝนเป็นประจำทุกปี และจะขาดแคลนน้ำทำการเกษตร รวมทั้งอุปโภคบริโภคในฤดูแล้ง ซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลพระซอง อำเภอนาแก และตำบลโคกหินแฮ่ อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ตามพระราชกฤษฎีกากำหนเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลพระซอง อำเภอนาแก และตำบลโคกหินแฮ่ อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๖ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี วิมล/ปรับปรุง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๐/ตอนพิเศษ ๑๔ ง/หน้า ๓/๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
339558
*ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวงพุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ดังต่อไปนี้ ๑.๑ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๔๒ โครงการชลประทานประจวบคีรีขันธ์ น้ำชลประทานประเภท ๑ เลขที่ ๒, ๓, ๒๓, ๒๗, และ ๓๒ ๒. ให้กำหนดทางน้ำตามบัญชีท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทาน ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ประกาศ ณ วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ชูชีพ หาญสวัสดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีทางน้ำชลประทานโครงการชลประทานประจวบคีรีขันธ์ (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) วิมล/ปรับปรุง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๙/ตอนพิเศษ ๙๓ ง/หน้า ๓/๓ ตุลาคม ๒๕๔๕
316417
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดทางน้ำชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวงพุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดทางน้ำตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้เป็นทางน้ำชลประทานประเภท ๑ ในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาท่าโบสถ์ และโครงการชลประทานตราด ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ชูชีพ หาญสวัสดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วิมล/ปรับปรุง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๙/ตอนพิเศษ ๓๕ ง/หน้า ๔/๑๙ เมษายน ๒๕๔๕
309469
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลหน้าสตน ตำบลหัวไทร ตำบลทรายขาว และตำบลแหลม อำเภอหัวไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชพ.ศ. ๒๕๔๑ เพื่อก่อสร้างคลองระบายน้ำสายบ้านหน้าโกฐ และอาคารประกอบ ตามโครงการพัฒนาและฟื้นฟูที่ภาคใต้ที่ประสบอุทกภัยอันเนื่องมาจากพระราชดำริแล้ว นั้นอธิบดีการชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างคลองระบายน้ำและอาคารประกอบดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการเก็บกักน้ำจืดไว้สำหรับใช้ในการเกษตร การป้องกันน้ำเค็มรุกเข้าเขตน้ำจืด และการบรรเทาอุทกภัย ซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทาน พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ ประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนังจังหวัดนครศรีธรรมราช ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๒ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี วิมล/ปรับปรุง ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๕๓ ง/หน้า ๑๕/๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒
321921
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน[๑] ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๕๔๑ เพื่อก่อสร้างคลองระบายน้ำสายบ้านหน้าโกฐ และอาคารประกอบ ตามโครงการพัฒนาและฟื้นฟูที่ภาคใต้ที่ประสบอุทกภัยอันเนื่องมาจากพระราชดำริแล้ว นั้นอธิบดีการชลประทานผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การก่อสร้างคลองระบายน้ำและอาคารประกอบดังกล่าวเป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการเก็บกักน้ำจืดไว้สำหรับใช้ในการเกษตร การป้องกันน้ำเค็มรุกเข้าเขตน้ำจืด และการบรรเทาอุทกภัย ซึ่งหากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชลประทาน พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ ประกอบกับมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ คณะรัฐมนตรีโดยมติเมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนังจังหวัดนครศรีธรรมราช ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลท่าพญา และตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๒ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี วิมล/ปรับปรุง ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๕๓ ง/หน้า ๑๓/๖ กรกฎาคม ๒๔๔๒
325280
ระเบียบกรมชลประทาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำ พ.ศ. 2544
ระเบียบกรมชลประทาน ระเบียบกรมชลประทาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำ พ.ศ. ๒๕๔๔[๑] โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำ กรมชลประทานจึงให้กำหนดระเบียบไว้ดังนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบกรมชลประทาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำ พ.ศ. ๒๕๔๔” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ กรมชลประทานจะดำเนินการจัดทำคันและคูน้ำท้องที่ใด จะต้องให้เจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินทุกรายในท้องที่นั้น รับทราบเงื่อนไขเรื่องการมีส่วนร่วมค่าใช้จ่าย และให้จัดทำบันทึกการยินยอมของเจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินทุกรายไว้เป็นหลักฐาน ถ้าเจ้าของที่ดินในท้องที่นั้นยินยอมมีจำนวนร้อยละแปดสิบขึ้นไปของเจ้าของที่ดินทั้งหมดก็ให้ดำเนินการจัดทำคันและคูน้ำได้ ข้อ ๔ ให้เจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดิน ที่ได้รับประโยชน์จากการจัดทำคันและคูน้ำทุกราย ต้องชำระค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำ รวมถึงประตูกักน้ำหรือสิ่งอื่นที่ใช้ในการบังคับในคูน้ำนั้นด้วย ตามอัตราที่กรมชลประทานกำหนดจากค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายจริง โดยให้เริ่มชำระในปีที่สามนับแต่ปีที่ดำเนินการจัดทำคันและคูน้ำสำเร็จตามโครงการแล้ว ข้อ ๕ เมื่อดำเนินการจัดทำคันและคูน้ำเสร็จแล้ว บรรดาค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำให้หัวหน้าโครงการชลประทานในพื้นที่ แจ้งเป็นหนังสือให้เจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินแต่ละรายทราบจำนวนเงินค่าใช้จ่ายตามอัตรา ระยะเวลา และวิธีการที่กรมชลประทานกำหนด และให้สอบถามเจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินว่าประสงค์ว่าจะชำระเงินค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำวิธีใด ตามที่กรมชลประทานกำหนดตามข้อ ๖ หากเจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินรายใดไม่มาแสดงความประสงค์ว่าจะชำระเงินค่าใช้จ่ายโดยวิธีใดภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ถือว่ามีความประสงค์จะชำระเงินโดยวิธีผ่อนชำระเป็นรายปี ถ้าเจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินรายใด ที่ได้รับหนังสือแจ้งให้ชำระค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำแล้ว มีความประสงค์จะเปลี่ยนแปลงวิธีการชำระเงินให้ยื่นหนังสือชี้แจงเหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงต่อหัวหน้าโครงการชลประทานในพื้นที่นั้นได้ เมื่อมีการตกลงเปลี่ยนแปลงวิธีการชำระเงินรายใดแล้ว ให้หัวหน้าโครงการชลประทานแจ้งให้อธิบดีกรมชลประทานผ่านผู้อำนวยการสำนักชลประทานทราบต่อไป ข้อ ๖ เจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดิน สามารถเลือกวิธีการชำระเงินค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำตามที่กรมชลประทานกำหนดได้โดยวิธี (๑) ชำระครั้งเดียว หรือ (๒) ผ่อนชำระรายปี ระยะเวลาสิบห้าปี หรือ (๓) ผ่อนชำระเป็นรายงวด ภายในระยะเวลาห้าปี ข้อ ๗ หากเจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินรายใดไม่สามารถชำระเงินค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำตามกำหนด ให้ยื่นหนังสือชี้แจงเหตุผลและความจำเป็นจำนวนเงินและระยะเวลาที่ขอผัดผ่อนต่อหัวหน้าโครงการชลประทานในพื้นที่อย่างช้าต้องไม่เกินวันถึงกำหนดชำระ และแจ้งให้อธิบดีกรมชลประทานผ่านผู้อำนวยการสำนักชลประทานทราบ การขออนุญาตให้ผัดผ่อนการชำระให้กระทำได้ ๑ คราว ระยะเวลาไม่เกิน ๑ ปี หากพ้นกำหนดชำระให้เจ้าของที่ดินยื่นคำร้องขอผัดผ่อนต่อหัวหน้าโครงการชลประทานพิจารณาอนุญาต ทั้งนี้ ต้องไม่เกินวันครบกำหนดชำระหนี้งวดถัดไป เมื่อครบกำหนระยะเวลาตามวรรคหนึ่งแล้ว หากเจ้าของที่ดินมีความจำเป็นในการขอผัดผ่อนชำระหนี้อีกให้ยื่นคำร้องต่อผู้อำนวยการสำนักชลประทาน และให้ผู้อำนวยการสำนักชลประทานพิจารณาอนุญาตได้อีก ๑ คราว ระยะเวลาไม่เกิน ๑ ปี ในกรณีจำเป็นอธิบดีกรมชลประทานอาจอนุญาตให้ผัดผ่อนหรือขยายเวลาการชำระหนี้ได้อีกตามที่เห็นสมควร ข้อ ๘ ถ้าเจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินรายใดเพิกเฉยไม่ชำระค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำตามที่หัวหน้าโครงการชลประทานแจ้งให้ทราบตามข้อ ๕ หรือไม่ชำระค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตให้ผัดผ่อนตามข้อ ๗ ให้ถือว่าผู้นั้นผิดนัด ต้องเสียดอกเบี้ยสำหรับจำนวนเงินที่ค้างชำระในอัตราที่กรมชลประทานกำหนดแต่ไม่เกินร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี นับแต่วันที่ผิดนัดจนถึงวันที่นำเงินมาชำระ เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาที่ให้นำเงินมาชำระตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้หัวหน้าโครงการชลประทานแจ้งเป็นหนังสือให้เจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินผิดนัดจัดการชำระหนี้หากเพิกเฉยอยู่อีกให้หัวหน้าโครงการชลประทานแจ้งให้อธิบดีกรมชลประทานผ่านผู้อำนวยการสำนักชลประทาน เพื่อพิจารณาดำเนินคดีต่อไป ข้อ ๙ ที่ดินแปลงใดมีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าของหรือมีผู้ได้รับสิทธิในที่ดินหลายคน ให้เจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดินทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบในการชำระเงินค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำร่วมกันและโดยวิธีเดียวกัน หากเจ้าของที่ดินเหล่านั้นมีความประสงค์จะชำระเงินค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำเฉพาะส่วนของตนก็ให้กระทำได้ แต่ต้องทำความตกลงกับหัวหน้าโครงการชลประทานในพื้นที่เกี่ยวกับสิทธิในที่ดินของแต่ละคนไว้อย่างชัดเจน เว้นแต่หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินจะระบุสิทธิในที่ดินของแต่ละคนไว้แล้ว ข้อ ๑๐ ถ้าเจ้าของที่ดินหรือผู้ได้รับสิทธิในที่ดิน มีความประสงค์จะโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นโดยวิธีใดผู้โอนและ/หรือผู้รับโอน จะต้องชำระเงินค่าใช้จ่ายในการจัดทำคันและคูน้ำ ที่ยังค้างชำระอยู่ให้หมดเสียก่อน ข้อ ๑๑ เงินค่าใช้จ่ายที่ดำเนินการจัดเก็บนี้ ให้หัวหน้าโครงการชลประทานดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบการเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๒๐ ข้อ ๑๒ ให้ผู้อำนวยการสำนักชลประทานเป็นผู้ควบคุมตรวจสอบรับผิดชอบรวมทั้งให้มีอำนาจสั่งมอบหมาย และแต่งตั้งเจ้าพนักงานเพื่อให้ดำเนินการตามระเบียบนี้ ข้อ ๑๓ ในกรณีที่มิได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้หรือไม่สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดในระเบียบนี้ให้นำเสนออธิบดีกรมชลประทานพิจารณา ประกาศ ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๔ กิจจา ผลภาษี อธิบดีกรมชลประทาน วิมล/ปรับปรุง ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๙ /ตอนพิเศษ ๑๙ ง/หน้า ๕๓/๔ มีนาคม ๒๕๔๕
731248
พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่การชุมนุมสาธารณะ ดังต่อไปนี้ (๑) การชุมนุมเนื่องในงานพระราชพิธีและงานรัฐพิธี (๒) การชุมนุมเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนาหรือกิจกรรมตามประเพณีหรือตามวัฒนธรรมแห่งท้องถิ่น (๓) การชุมนุมเพื่อจัดแสดงมหรสพ กีฬา ส่งเสริมการท่องเที่ยว หรือกิจกรรมอื่นเพื่อประโยชน์ทางการค้าปกติของผู้จัดการชุมนุมนั้น (๔) การชุมนุมภายในสถานศึกษา (๕) การชุมนุมหรือการประชุมตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย หรือการประชุมสัมมนาทางวิชาการของสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่มีวัตถุประสงค์ทางวิชาการ (๖) การชุมนุมสาธารณะในระหว่างเวลาที่มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินหรือประกาศใช้กฎอัยการศึกและการชุมนุมสาธารณะที่จัดขึ้นเพื่อประโยชน์ในการหาเสียงเลือกตั้งในช่วงเวลาที่มีการเลือกตั้ง แต่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “การชุมนุมสาธารณะ” หมายความว่า การชุมนุมของบุคคลในที่สาธารณะเพื่อเรียกร้อง สนับสนุน คัดค้าน หรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยแสดงออกต่อประชาชนทั่วไป และบุคคลอื่นสามารถร่วมการชุมนุมนั้นได้ ไม่ว่าการชุมนุมนั้นจะมีการเดินขบวนหรือเคลื่อนย้ายด้วยหรือไม่ “ที่สาธารณะ” หมายความว่า ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินที่ใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันหรือที่หน่วยงานของรัฐมิได้เป็นเจ้าของแต่เป็นผู้ครอบครองหรือใช้ประโยชน์ บรรดาซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้ รวมตลอดทั้งทางหลวงและทางสาธารณะ “ทางหลวง” หมายความว่า ทางหลวงตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง “ทางสาธารณะ” หมายความว่า ทางบกหรือทางน้ำสำหรับประชาชนใช้ในการจราจร และให้หมายความรวมถึงทางรถระบบรางที่มีรถเดินสำหรับประชาชนโดยสารด้วย “ผู้จัดการชุมนุม” หมายความว่า ผู้จัดให้มีการชุมนุมสาธารณะ และให้หมายความรวมถึงผู้ประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะ และผู้ซึ่งเชิญชวนหรือนัดให้ผู้อื่นมาร่วมการชุมนุมสาธารณะโดยแสดงออกหรือมีพฤติการณ์ทำให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้จัดหรือร่วมจัดให้มีการชุมนุมนั้น “ผู้ชุมนุม” หมายความรวมถึง ผู้จัดการชุมนุม และผู้เข้าร่วมการชุมนุมสาธารณะไม่ว่าจะเข้าร่วมการชุมนุมสาธารณะนั้นตามคำเชิญชวนหรือการนัดของผู้จัดการชุมนุมหรือไม่ “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐบาล องค์การมหาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงานอื่นของรัฐ “ผู้รับแจ้ง” หมายความว่า หัวหน้าสถานีตำรวจแห่งท้องที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะหรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้เป็นผู้มีหน้าที่รับแจ้งการชุมนุมสาธารณะตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๖ การชุมนุมสาธารณะต้องเป็นไปโดยสงบและปราศจากอาวุธ การใช้สิทธิและเสรีภาพของผู้ชุมนุมในระหว่างการชุมนุมสาธารณะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตการใช้สิทธิและเสรีภาพตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมาย มาตรา ๗ การจัดการชุมนุมสาธารณะในรัศมีหนึ่งร้อยห้าสิบเมตรจากพระบรมมหาราชวัง พระราชวัง วังของพระรัชทายาทหรือของพระบรมวงศ์ตั้งแต่สมเด็จเจ้าฟ้าขึ้นไป พระราชนิเวศน์ พระตำหนัก หรือจากที่ซึ่งพระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท พระบรมวงศ์ตั้งแต่สมเด็จเจ้าฟ้าขึ้นไป หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประทับหรือพำนัก หรือสถานที่พำนักของพระราชอาคันตุกะ จะกระทำมิได้ การจัดการชุมนุมสาธารณะภายในพื้นที่ของรัฐสภา ทำเนียบรัฐบาล และศาลจะกระทำมิได้ เว้นแต่มีการจัดให้มีสถานที่เพื่อใช้สำหรับการชุมนุมสาธารณะภายในพื้นที่นั้น ศาลตามวรรคสองหมายความถึง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหารและศาลอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาล ในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์แห่งการรักษาความปลอดภัยสาธารณะและความสงบเรียบร้อยของประชาชน ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมีอำนาจประกาศห้ามชุมนุมในรัศมีไม่เกินห้าสิบเมตรรอบสถานที่ตามวรรคสอง ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงจำนวนของผู้เข้าร่วมชุมนุมและพฤติการณ์ในการชุมนุมด้วย มาตรา ๘ การชุมนุมสาธารณะต้องไม่กีดขวางทางเข้าออก หรือรบกวนการปฏิบัติงานหรือการใช้บริการสถานที่ ดังต่อไปนี้ (๑) สถานที่ทำการหน่วยงานของรัฐ (๒) ท่าอากาศยาน ท่าเรือ สถานีรถไฟ หรือสถานีขนส่งสาธารณะ (๓) โรงพยาบาล สถานศึกษา และศาสนสถาน (๔) สถานทูตหรือสถานกงสุลของรัฐต่างประเทศ หรือสถานที่ทำการองค์การระหว่างประเทศ (๕) สถานที่อื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด มาตรา ๙ หน่วยงานของรัฐอาจจัดให้มีสถานที่เพื่อใช้สำหรับการชุมนุมสาธารณะก็ได้ การจัดให้มีสถานที่เพื่อการชุมนุมสาธารณะตามมาตรานี้ไม่กระทบต่อเสรีภาพของประชาชนที่จะจัดการชุมนุมสาธารณะในที่สาธารณะอื่น มิให้นำความในหมวด ๒ การแจ้งการชุมนุมสาธารณะ มาใช้บังคับแก่การชุมนุมสาธารณะที่จัดขึ้นภายในสถานที่ตามวรรคหนึ่ง หมวด ๒ การแจ้งการชุมนุมสาธารณะ มาตรา ๑๐ ผู้ใดประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะ ให้แจ้งการชุมนุมต่อผู้รับแจ้งก่อนเริ่มการชุมนุมไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง ให้ถือว่าผู้เชิญชวนหรือนัดให้ผู้อื่นมาร่วมชุมนุมในวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนดไม่ว่าจะด้วยวิธีการใด ๆ รวมทั้งผู้ขออนุญาตใช้สถานที่หรือเครื่องขยายเสียงหรือขอให้ทางราชการอำนวยความสะดวกในการชุมนุมเป็นผู้ประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะตามวรรคหนึ่ง การแจ้งการชุมนุมสาธารณะต้องระบุวัตถุประสงค์ และวัน ระยะเวลา และสถานที่ชุมนุมสาธารณะตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดซึ่งต้องเป็นวิธีที่สะดวกแก่ผู้แจ้ง และต้องให้แจ้งผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้ด้วย มาตรา ๑๑ เมื่อได้รับแจ้งแล้ว ให้ผู้รับแจ้งส่งสรุปสาระสำคัญในการชุมนุมสาธารณะตามพระราชบัญญัตินี้ให้ผู้แจ้งทราบภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ได้รับแจ้ง ในกรณีที่ผู้รับแจ้งเห็นว่าการชุมนุมสาธารณะที่ได้รับแจ้งนั้นอาจขัดต่อมาตรา ๗ หรือมาตรา ๘ ให้ผู้รับแจ้งมีคำสั่งให้ผู้แจ้งแก้ไขภายในเวลาที่กำหนด หากผู้แจ้งการชุมนุมไม่ปฏิบัติตามคำสั่งตามวรรคสอง ให้ผู้รับแจ้งมีคำสั่งห้ามชุมนุมโดยแจ้งคำสั่งเป็นหนังสือไปยังผู้แจ้ง กรณีผู้แจ้งการชุมนุมไม่เห็นชอบด้วยกับคำสั่งตามวรรคสามให้ยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือผู้รับแจ้งขึ้นไปหนึ่งชั้น และให้ผู้รับอุทธรณ์วินิจฉัยและแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมงคำวินิจฉัยอุทธรณ์นั้นให้เป็นที่สุด ในระหว่างมีคำสั่งห้ามชุมนุม การอุทธรณ์และพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้งดการชุมนุมสาธารณะ มาตรา ๑๒ ให้ผู้ประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะซึ่งไม่สามารถแจ้งการชุมนุมได้ภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๐ แจ้งการชุมนุมพร้อมคำขอผ่อนผันกำหนดเวลาดังกล่าวต่อผู้บังคับการตำรวจผู้รับผิดชอบพื้นที่ในกรุงเทพมหานคร หรือผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดในจังหวัดอื่นแล้วแต่กรณีก่อนเริ่มการชุมนุม ให้นำความในมาตรา ๑๐ วรรคสาม มาใช้บังคับแก่การแจ้งตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม ให้ผู้รับคำขอผ่อนผันตามวรรคหนึ่งมีหนังสือแจ้งคำสั่งพร้อมด้วยเหตุผลให้ผู้ยื่นคำขอทราบภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ได้รับคำขอ มาตรา ๑๓ ให้ผู้รับแจ้งตามมาตรา ๑๑ และผู้รับคำขอผ่อนผันตามมาตรา ๑๒ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๔ การชุมนุมสาธารณะที่ไม่เป็นไปตามมาตรา ๖ หรือไม่แจ้งการชุมนุมตามมาตรา ๑๐ หรือที่ผู้แจ้งไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้รับแจ้งหรือที่ผู้รับแจ้งมีคำสั่งห้ามการชุมนุมตามมาตรา ๑๑ หรือที่จัดขึ้นหลังจากที่ผู้ยื่นคำขอได้รับหนังสือแจ้งว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรที่จะผ่อนผันกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๒ ให้ถือว่าเป็นการชุมนุมสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หมวด ๓ หน้าที่ของผู้จัดการชุมนุมและผู้ชุมนุม มาตรา ๑๕ ผู้จัดการชุมนุมมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ดูแลและรับผิดชอบการชุมนุมสาธารณะให้เป็นไปโดยสงบและปราศจากอาวุธภายใต้ขอบเขตการใช้สิทธิและเสรีภาพตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ (๒) ดูแลและรับผิดชอบการชุมนุมสาธารณะไม่ให้เกิดการขัดขวางเกินสมควรต่อประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะ ตลอดจนดูแลและรับผิดชอบให้ผู้ชุมนุมปฏิบัติตามมาตรา ๑๖ (๓) แจ้งให้ผู้ชุมนุมทราบถึงหน้าที่ของผู้ชุมนุมตามมาตรา ๑๖ และเงื่อนไขหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ (๔) ให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะในการดูแลการชุมนุมสาธารณะให้เป็นไปตาม (๑) และ (๒) (๕) ไม่ยุยงส่งเสริมหรือชักจูงผู้ชุมนุมเพื่อให้ผู้ชุมนุมไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๖ (๖) ไม่ปราศรัยหรือจัดกิจกรรมในการชุมนุมโดยใช้เครื่องขยายเสียงในระหว่างเวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๐๖.๐๐ นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น (๗) ไม่ใช้เครื่องขยายเสียงด้วยกำลังไฟฟ้าที่มีขนาดหรือระดับเสียงตามที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติประกาศกำหนด มาตรา ๑๖ ผู้ชุมนุมมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ไม่ก่อให้เกิดความไม่สะดวกแก่ประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะอันเป็นที่ชุมนุมหรือทำให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อนเกินที่พึงคาดหมายได้ว่าเป็นไปตามเหตุอันควร (๒) ไม่ปิดบังหรืออำพรางตนโดยจงใจมิให้มีการระบุตัวบุคคลได้ถูกต้อง เว้นแต่เป็นการแต่งกายตามปกติประเพณี (๓) ไม่พาอาวุธ ดอกไม้เพลิง สิ่งเทียมอาวุธปืน หรือสิ่งที่อาจนำมาใช้ได้อย่างอาวุธ เข้าไปในที่ชุมนุมไม่ว่าจะได้รับอนุญาตให้มีสิ่งนั้นติดตัวหรือไม่ (๔) ไม่บุกรุกหรือทำให้เสียหาย ทำลาย หรือทำด้วยประการใด ๆ ให้ใช้การไม่ได้ตามปกติซึ่งทรัพย์สินของผู้อื่น (๕) ไม่ทำให้ผู้อื่นกลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน หรือเสรีภาพ (๖) ไม่ใช้กำลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้ายผู้เข้าร่วมชุมนุมหรือผู้อื่น (๗) ไม่ขัดขวางหรือกระทำการใด ๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชนในการใช้ที่สาธารณะ และการดูแลการชุมนุมสาธารณะนั้น (๘) ไม่เดินขบวนหรือเคลื่อนย้ายการชุมนุมระหว่างเวลา ๑๘.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๐๖.๐๐ นาฬิกา ของวันรุ่งขึ้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ (๙) ปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ มาตรา ๑๗ ในกรณีที่ผู้จัดการชุมนุมมิได้แจ้งว่าจะมีการเดินขบวนหรือเคลื่อนย้ายผู้ชุมนุมจะเดินขบวนหรือเคลื่อนย้ายการชุมนุมได้ต่อเมื่อได้แจ้งล่วงหน้าต่อหัวหน้าสถานีตำรวจซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลการชุมนุมสาธารณะนั้น มาตรา ๑๘ ผู้ชุมนุมต้องเลิกการชุมนุมสาธารณะภายในระยะเวลาที่ผู้จัดการชุมนุมได้แจ้งไว้ต่อผู้รับแจ้ง หากผู้จัดการชุมนุมประสงค์จะจัดให้มีการชุมนุมต่อไป ให้แจ้งขอขยายระยะเวลาการชุมนุมต่อผู้รับแจ้งภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมงก่อนสิ้นสุดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง หมวด ๔ การคุ้มครองความสะดวกของประชาชน และการดูแลการชุมนุมสาธารณะ มาตรา ๑๙ ให้หัวหน้าสถานีตำรวจแห่งท้องที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะ เป็นเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ และให้แจ้งพนักงานฝ่ายปกครองหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะหรือหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐหรือเอกชนในท้องที่นั้นเพื่อทราบ การชุมนุมสาธารณะที่ต่อเนื่องหลายพื้นที่ ให้ผู้บังคับการหรือผู้บัญชาการตำรวจซึ่งรับผิดชอบพื้นที่การชุมนุม แล้วแต่กรณี เป็นเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่เห็นสมควร ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอาจแต่งตั้งข้าราชการตำรวจอื่นเป็นเจ้าพนักงานเพิ่มหรือแทนเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองก็ได้ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชน การดูแลการชุมนุมสาธารณะและการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) อำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะอันเป็นสถานที่ชุมนุม (๒) รักษาความปลอดภัย อำนวยความสะดวก หรือบรรเทาเหตุเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อื่นซึ่งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับสถานที่ชุมนุม (๓) รักษาความปลอดภัยหรืออำนวยความสะดวกแก่ผู้ชุมนุมในสถานที่ชุมนุม (๔) อำนวยความสะดวกในการจราจรและการขนส่งสาธารณะในบริเวณที่มีการชุมนุมและบริเวณใกล้เคียงเพื่อให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากการชุมนุมน้อยที่สุด (๕) กำหนดเงื่อนไขหรือมีคำสั่งให้ผู้จัดการชุมนุม ผู้ชุมนุม หรือผู้อยู่ภายในสถานที่ชุมนุมต้องปฏิบัติตามเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรานี้ เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะอาจมีคำสั่งให้ปิดหรือปรับเส้นทางการจราจรเป็นการชั่วคราวได้เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชนหรือการดูแลการชุมนุมสาธารณะ ในกรณีที่เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะร้องขอ ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐในท้องที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะดำเนินการตามคำร้องขอภายในขอบอำนาจหน้าที่ของผู้นั้น เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะและข้าราชการตำรวจซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลการชุมนุมสาธารณะต้องผ่านการฝึกอบรมให้มีทักษะ ความเข้าใจ และอดทนต่อสถานการณ์การชุมนุมสาธารณะและต้องแต่งเครื่องแบบเพื่อแสดงตน และอาจใช้เครื่องมือควบคุมฝูงชนได้ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด มาตรา ๒๐ ก่อน ระหว่าง และภายหลังการชุมนุมสาธารณะ ให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติและหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐจัดหรือประสานให้มีการประชาสัมพันธ์เป็นระยะเพื่อให้ประชาชนทราบถึงสถานที่ที่ใช้ในการชุมนุมและช่วงเวลาที่มีการชุมนุม ตลอดจนคำแนะนำเกี่ยวกับเส้นทางการจราจรหรือระบบการขนส่งสาธารณะเพื่อให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากการชุมนุมน้อยที่สุด มาตรา ๒๑ ในกรณีมีการชุมนุมสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา ๑๔ หรือกรณีผู้จัดการชุมนุมหรือผู้ชุมนุมฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๑๘ ให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) กรณีการชุมนุมสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา ๑๔ หรือไม่เลิกการชุมนุมภายในระยะเวลาที่ได้แจ้งไว้ต่อผู้รับแจ้งตามมาตรา ๑๘ ให้ประกาศให้ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุมภายในระยะเวลาที่กำหนด (๒) กรณีผู้จัดการชุมนุมหรือผู้ชุมนุมฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ ให้ประกาศให้ผู้ชุมนุมแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด หากผู้ชุมนุมไม่ปฏิบัติตามประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะร้องขอต่อศาลแพ่งหรือศาลจังหวัดที่มีเขตอำนาจเหนือสถานที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะเพื่อมีคำสั่งให้ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุมสาธารณะนั้น ในระหว่างรอคำสั่งศาลให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะมีอำนาจกระทำการที่จำเป็นตามแผนหรือแนวทางการดูแลการชุมนุมสาธารณะที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบตามข้อเสนอแนะของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทั้งนี้ เพื่อคุ้มครองความสะดวกของประชาชนและคุ้มครองการชุมนุมสาธารณะ แผนหรือแนวทางการดูแลการชุมนุมสาธารณะตามวรรคสอง ต้องกำหนดให้เจ้าพนักงานหลีกเลี่ยงการใช้กำลัง ในกรณีที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงการใช้กำลังได้ ให้ใช้กำลังและเครื่องมือควบคุมฝูงชนเพียงเท่าที่จำเป็น การดำเนินการของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะตามมาตรานี้ ไม่ตัดสิทธิของผู้อื่น ซึ่งได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการชุมนุมสาธารณะนั้นที่จะร้องขอต่อศาลแพ่งหรือศาลจังหวัดที่มีเขตอำนาจเหนือสถานที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะเพื่อมีคำสั่งให้ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุม มาตรา ๒๒ เมื่อได้รับคำขอให้มีคำสั่งให้ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๒๑ ให้ศาลพิจารณาคำขอนั้นเป็นการด่วน ในการพิจารณา หากความปรากฏต่อศาลว่ามีผู้ชุมนุมซึ่งไม่ปฏิบัติตามประกาศของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๒๑ ให้ศาลมีคำสั่งโดยออกคำบังคับให้ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุมสาธารณะภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด คำสั่งศาลตามวรรคสอง ให้อุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค คำสั่งศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคให้เป็นที่สุด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีปิดประกาศคำสั่งศาลตามมาตรานี้ไว้ในที่แลเห็นได้ง่าย ณ บริเวณที่มีการชุมนุมสาธารณะนั้น และประกาศโดยวิธีการใด ๆ เพื่อให้ผู้ชุมนุมและประชาชนทั่วไปได้รับทราบคำสั่งศาลดังกล่าวด้วย มาตรา ๒๓ ในกรณีที่ผู้ชุมนุมไม่เลิกการชุมนุมสาธารณะตามคำสั่งศาลภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด ให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะรายงานให้ศาลทราบกับประกาศกำหนดให้พื้นที่บริเวณที่มีการชุมนุมสาธารณะนั้นและปริมณฑลของพื้นที่นั้นตามควรแก่กรณีเป็นพื้นที่ควบคุม และประกาศให้ผู้ชุมนุมออกจากพื้นที่ควบคุมภายในระยะเวลาที่กำหนดและห้ามบุคคลใดเข้าไปในพื้นที่ควบคุมโดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ และให้รายงานรัฐมนตรีเพื่อทราบ เมื่อมีการประกาศกำหนดพื้นที่ควบคุมตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้บัญชาการตำรวจนครบาลในกรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการจังหวัดในจังหวัดอื่น หรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมายให้รับผิดชอบเป็นผู้ควบคุมสถานการณ์เพื่อให้มีการเลิกการชุมนุมสาธารณะตามคำสั่งศาล ในกรณีที่มีเหตุจำเป็น รัฐมนตรีอาจมอบหมายให้ผู้อื่นรับผิดชอบเป็นผู้ควบคุมสถานการณ์เพื่อให้มีการเลิกการชุมนุมสาธารณะได้ มาตรา ๒๔ เมื่อพ้นระยะเวลาที่ประกาศให้ผู้ชุมนุมออกจากพื้นที่ควบคุม หากมีผู้ชุมนุมอยู่ในพื้นที่ควบคุมหรือเข้าไปในพื้นที่ควบคุมโดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะให้ถือว่าผู้นั้นกระทำความผิดซึ่งหน้า และให้ผู้ควบคุมสถานการณ์และผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ควบคุมสถานการณ์ดำเนินการให้มีการเลิกการชุมนุมสาธารณะตามคำสั่งศาล โดยให้ผู้ควบคุมสถานการณ์และผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ควบคุมสถานการณ์มีอำนาจ ดังต่อไปนี้ (๑) จับผู้ซึ่งอยู่ในพื้นที่ควบคุมหรือผู้ซึ่งเข้าไปในพื้นที่ควบคุมโดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ (๒) ค้น ยึด อายัด หรือรื้อถอนทรัพย์สินที่ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการชุมนุมสาธารณะนั้น (๓) กระทำการที่จำเป็นตามแผนหรือแนวทางการดูแลการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๒๑ (๔) มีคำสั่งห้ามมิให้กระทำการใด ๆ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้มีการเลิกการชุมนุม ให้นำความในมาตรา ๑๙ วรรคเจ็ด มาใช้บังคับแก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม มาตรา ๒๕ ในกรณีที่ผู้ชุมนุมกระทำการใด ๆ ที่มีลักษณะรุนแรงและอาจเป็นอันตรายแก่ชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือทรัพย์สินของผู้อื่นจนเกิดความวุ่นวายขึ้นในบ้านเมือง ให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะมีอำนาจสั่งให้ผู้ชุมนุมยุติการกระทำนั้น หากผู้ชุมนุมไม่ปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าวให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะและผู้ควบคุมสถานการณ์และผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ควบคุมสถานการณ์มีอำนาจดำเนินการตามมาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๔ ในกรณีที่ผู้ชุมนุมไม่เห็นด้วยกับคำสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้ยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลแพ่งหรือศาลจังหวัดที่มีเขตอำนาจเหนือสถานที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะเพื่อพิจารณาภายในเวลาสามสิบวันนับแต่วันที่มีคำสั่ง คำสั่งของศาลตามมาตรานี้ให้อุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค คำสั่งศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคให้เป็นที่สุด มาตรา ๒๖ ให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ ผู้ควบคุมสถานการณ์ ผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ควบคุมสถานการณ์ หรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งของบุคคลดังกล่าวเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หมวด ๕ บทกำหนดโทษ มาตรา ๒๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๘ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๒๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๒๙ ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งห้ามชุมนุมหรือจัดการชุมนุมระหว่างมีคำสั่งห้ามชุมนุมตามมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๓๐ ผู้จัดการชุมนุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ (๑) (๒) หรือ (๓) หรือผู้ชุมนุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๖ (๑) หรือ (๒) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๓๑ ผู้จัดการชุมนุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) หรือผู้ชุมนุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๖ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) หรือ (๘) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่งทำให้ระบบการขนส่งสาธารณะ ระบบการสื่อสารหรือโทรคมนาคม ระบบผลิตหรือส่งกระแสไฟฟ้าหรือประปา หรือระบบสาธารณูปโภคอื่นใดใช้การไม่ได้ไม่ว่าจะเป็นการชั่วคราวหรือถาวร ผู้จัดการชุมนุมต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๓๒ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งหรือประกาศของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๑๙ (๕) หรือมาตรา ๒๓ ถ้าผู้นั้นเป็นผู้จัดการชุมนุมหรือผู้ชุมนุม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ แต่ถ้าผู้นั้นเป็นผู้อยู่ภายในสถานที่ชุมนุม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท ในกรณีที่เห็นสมควร ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กำหนดหรือจะไม่ลงโทษก็ได้ มาตรา ๓๓ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้ควบคุมสถานการณ์หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ควบคุมสถานการณ์ตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๕ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ในกรณีที่เห็นสมควร ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กำหนดหรือจะไม่ลงโทษก็ได้ มาตรา ๓๔ ผู้ใดไม่ได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ หรือผู้ควบคุมสถานการณ์หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ควบคุมสถานการณ์ให้ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้พาอาวุธเข้าไปในที่ชุมนุม ไม่ว่าจะได้รับอนุญาตให้มีอาวุธนั้นติดตัวหรือไม่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ถ้าอาวุธตามวรรคหนึ่งเป็นอาวุธปืน วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นใดอันมีสภาพคล้ายคลึงกัน ผู้กระทำความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๓๕ บรรดาทรัพย์สินที่ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการชุมนุมสาธารณะที่ยึดได้จากการชุมนุมสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือที่ไม่เลิกการชุมนุมตามคำสั่งศาล ให้ศาลมีอำนาจสั่งริบเสียทั้งสิ้น ไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การใช้สิทธิชุมนุมสาธารณะให้ชัดเจนและโดยสอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองที่ประเทศไทยเป็นภาคี ทั้งนี้ เพื่อให้การชุมนุมสาธารณะเป็นไปด้วยความสงบเรียบร้อย ไม่กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงของชาติ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีตลอดจนสุขอนามัยของประชาชนหรือความสะดวกของประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะ และไม่กระทบกระเทือนสิทธิและเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ปัญจพร/ผู้ตรวจ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนที่ ๖๓ ก/หน้า ๑๙/๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘
739007
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง เครื่องมือควบคุมฝูงชนในการชุมนุมสาธารณะ
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง เครื่องมือควบคุมฝูงชนในการชุมนุมสาธารณะ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดเครื่องมือควบคุมฝูงชน เพื่อให้การชุมนุมสาธารณะเป็นไปด้วยความสงบเรียบร้อย ไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชน หรือคุ้มครองความสะดวกของประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะ และไม่กระทบสิทธิและเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๙ วรรคเจ็ด และมาตรา ๒๔ วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ นายกรัฐมนตรีจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะและข้าราชการตำรวจซึ่งได้รับมอบหมายผู้ควบคุมสถานการณ์และผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย อาจเลือกใช้เครื่องมือควบคุมฝูงชนได้ ดังต่อไปนี้ (๑) หมวกปราบจลาจล หรือหมวกกันกระสุนพร้อมกระบังหน้า (๒) โล่ใส หรือโล่กันกระสุน (๓) ชุดป้องกันสะเก็ด ตลอดจน สนับแข้ง สนับเข่า สนับศอก อุปกรณ์ป้องกันสะเก็ดบริเวณลำตัว แขนและขา (๔) กระบองยาง หรืออุปกรณ์ใช้ตี (Baton) (๕) สายรัดบังคับ (สายล็อคข้อมือ) หรือกุญแจมือ (๖) หน้ากากป้องกันแก๊สพิษ พร้อมหม้อกรองแก๊สพิษและไมโครโฟน (๗) แก๊สน้ำตาชนิดสเปรย์ สกัดจากพืชธรรมชาติ (๘) เสื้อเกราะอ่อนป้องกันกระสุน (๙) เครื่องขยายเสียงพร้อมไมโครโฟน ขนาดเล็ก (๑๐) อุปกรณ์ส่งคลื่นเสียงรบกวนพิเศษระยะไกลชนิดพกพา (๑๑) เครื่องเสียงและระบบป้องกันอันตรายรถสั่งการ (๑๒) เครื่องยิงแก๊สน้ำตาชนิดใช้แล้วทิ้ง (๑๓) เครื่องฉีดแก๊สแบบสะพาย (๑๔) ชุดปืนยิงแก๊สน้ำตาพร้อมอุปกรณ์ (๑๕) แก๊สน้ำตาชนิดเผาไหม้ (๑๖) แก๊สน้ำตาสำหรับผสมน้ำ (๑๗) ลูกขว้างแบบควัน (๑๘) ลูกขว้างแบบแสง - เสียง (๑๙) ลูกขว้างแก๊สน้ำตา ชนิด OC (๒๐) ลูกขว้างแก๊สน้ำตา ชนิด CS (๒๑) ถุงลมบอกทิศทาง (๒๒) เครื่องฉีดน้ำแรงดันสูง และสีผสมน้ำ (๒๓) อาวุธปืนลูกซอง สำหรับยิงกระสุนยางหรือแก๊สน้ำตา (๒๔) อุปกรณ์ช็อตไฟฟ้า (Taser) (๒๕) ปืนยิงตาข่าย (๒๖) รถฉีดน้ำแรงดันสูง หรือรถดับเพลิง (๒๗) เครื่องกีดขวางการผ่านของรถ (๒๘) อุปกรณ์ตรวจหาอาวุธบุคคล (๒๙) อุปกรณ์ตรวจหาอาวุธยานพาหนะ (๓๐) แผงกั้นเหล็ก (๓๑) กรวยยาง (๓๒) แท่นปูน หรืออุปกรณ์สำหรับป้องกันสถานที่ (๓๓) ลวดหีบเพลงแถบหนาม (๓๔) ถุงมือหนัง (๓๕) รถเครนยกแท่นปูน (๓๖) ยานพาหนะสำหรับเจ้าหน้าที่และการลำเลียงเครื่องมือ (๓๗) รถควบคุมฝูงชน (Riot Truck) ขนาด ๖ ล้อ (๓๘) รถควบคุมฝูงชน (Riot Truck) ขนาด ๑๐ ล้อ (๓๙) รถที่ทำการทางยุทธวิธี (๔๐) รถบรรทุกน้ำ (๔๑) รถส่องสว่าง (๔๒) อุปกรณ์ส่งคลื่นเสียงรบกวนพิเศษระยะไกล ขนาดกลาง (๔๓) อุปกรณ์ส่งคลื่นเสียงรบกวนพิเศษระยะไกล ขนาดใหญ่ (๔๔) ชุดเครื่องเสียงความดังสูง พร้อมอุปกรณ์กำเนิดพลังงาน (๔๕) โคมไฟส่องสว่างฉุกเฉิน (๔๖) อุปกรณ์ถ่ายภาพทั้งภาพนิ่งและเคลื่อนไหว (๔๗) เครื่องบันทึกเสียง (๔๘) เครื่องมือวัดระดับเสียง ข้อ ๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปริยานุช/กัญฑรัตน์/จัดทำ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ /ตรวจ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๒๗๙ ง/หน้า ๖/๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
739005
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดวิธีการแจ้งการชุมนุมสาธารณะ
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดวิธีการแจ้งการชุมนุมสาธารณะ โดยที่การจัดการชุมนุมสาธารณะไม่ต้องมีการขออนุญาต แต่ต้องแจ้งการชุมนุมสาธารณะนั้นต่อผู้รับแจ้งตามกฎหมาย จึงสมควรกำหนดวิธีการแจ้งการชุมนุมสาธารณะ ให้เกิดความสะดวกแก่ผู้แจ้งและเป็นข้อมูลแก่ผู้รับแจ้ง เพื่อให้การชุมนุมสาธารณะเป็นไปด้วยความสงบเรียบร้อย ไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชน หรือคุ้มครองความสะดวกของประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะ และไม่กระทบสิทธิและเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๐ วรรคสาม และมาตรา ๑๒ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ นายกรัฐมนตรีจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “การแจ้ง” หมายความว่า การแจ้งความประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะ “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าพนักงานซึ่งผู้รับแจ้งแต่งตั้งหรือมอบหมายให้รับผิดชอบในการรับหรือส่งหนังสือ หรือดำเนินการเกี่ยวกับการรับแจ้งการชุมนุมสาธารณะของหน่วยงาน ข้อ ๒ ผู้ใดประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะ ให้แจ้งเป็นหนังสือต่อผู้รับแจ้งซึ่งเป็นหัวหน้าสถานีตำรวจแห่งท้องที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะตามแบบท้ายประกาศนี้ ก่อนเริ่มการชุมนุมไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง กรณีประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะในท้องที่ของสถานีตำรวจต่าง ๆ เกินกว่าหนึ่งท้องที่ซึ่งมีเขตต่อเนื่องกัน ให้แจ้งการชุมนุมสาธารณะต่อผู้รับแจ้งในท้องที่หนึ่งท้องที่ใดก็ได้ ข้อ ๓ ภายใต้บังคับของข้อ ๒ การแจ้งให้ดำเนินการโดยวิธีหนึ่งวิธีใด ดังต่อไปนี้ (๑) แจ้งโดยตรงต่อผู้รับแจ้ง (๒) แจ้งทางโทรสาร (๓) แจ้งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ ๔ การแจ้งโดยตรงต่อผู้รับแจ้ง ให้ผู้แจ้งยื่นหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะต่อผู้รับแจ้งหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทำการของผู้รับแจ้ง ทั้งนี้ ในการแจ้งโดยตรงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ดังกล่าวเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับเอกสารครบถ้วนแล้ว ให้ถือว่าผู้รับแจ้งได้รับแจ้งแล้ว ข้อ ๕ การแจ้งทางโทรสาร ให้ส่งหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะไปยังหมายเลขโทรสารของที่ทำการของผู้รับแจ้งตามที่กำหนดไว้ในประกาศของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แล้วให้ส่งต้นฉบับของหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะไปยังผู้รับแจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับโดยพลัน เมื่อได้ส่งหนังสือทางโทรสารแล้ว ให้ผู้แจ้งโทรศัพท์แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามหมายเลขที่กำหนดไว้ในประกาศของสำนักงานตำรวจแห่งชาติโดยเร็ว เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง การส่งตามวรรคหนึ่งให้ถือว่าผู้รับแจ้งได้รับแจ้งต่อเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งที่ทำการของผู้รับแจ้งได้รับเอกสารตามโทรสารครบถ้วน ข้อ ๖ การแจ้งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ให้ส่งหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะไปยังที่อยู่จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของที่ทำการผู้รับแจ้งตามที่กำหนดไว้ในประกาศของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยสามารถแสดงหรืออ้างอิงหรือเข้าถึงเพื่อนำกลับมาใช้ในภายหลังและยังคงความครบถ้วนของข้อความในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์รวมทั้งสามารถระบุตัวผู้ส่งได้ เมื่อได้ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ให้ผู้แจ้งโทรศัพท์แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามหมายเลขที่กำหนดไว้ในประกาศของสำนักงานตำรวจแห่งชาติโดยเร็ว เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง การแจ้งตามวรรคหนึ่งให้ถือว่าผู้รับแจ้งได้รับแจ้งต่อเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์โดยครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว ในกรณีมีข้อสงสัย ผู้รับแจ้งอาจสั่งให้ผู้แจ้งส่งต้นฉบับหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะภายในระยะเวลาที่เห็นสมควร ข้อ ๗ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะแล้ว ให้รีบนำเสนอผู้รับแจ้งเพื่อพิจารณาโดยเร็ว ในกรณีที่เป็นการแจ้งโดยวิธีตามข้อ ๓ (๒) และ (๓) และพนักงานเจ้าหน้าที่มีข้อสงสัย ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ติดต่อไปยังผู้แจ้ง ตามข้อมูลที่ระบุไว้ในหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะเพื่อตรวจสอบตัวผู้แจ้งและความถูกต้องของหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะด้วย ข้อ ๘ เมื่อผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการชุมนุมสาธารณะแล้ว ให้ตรวจสอบความถูกต้องแล้วส่งสรุปสาระสำคัญในการชุมนุมสาธารณะให้ผู้แจ้งทราบภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ได้รับแจ้งและอาจมีคำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลการชุมนุมสาธารณะเพื่อให้ผู้แจ้งปฏิบัติหรือแก้ไขภายในเวลาที่กำหนดด้วยก็ได้ ข้อ ๙ ในกรณีที่ผู้แจ้งไม่สามารถแจ้งการชุมนุมได้ทันกำหนดเวลาตามข้อ ๒ ผู้แจ้งอาจขอผ่อนผันกำหนดเวลาดังกล่าวก่อนเริ่มการชุมนุม โดยยื่นคำขอผ่อนผันพร้อมแบบแจ้งการชุมนุมสาธารณะท้ายประกาศนี้โดยตรง ในกรุงเทพมหานครให้ยื่นคำขอต่อผู้บังคับการตำรวจนครบาลผู้รับผิดชอบพื้นที่ในกรุงเทพมหานคร ในจังหวัดอื่นให้ยื่นคำขอต่อผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ข้อ ๑๐ ให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติวางระเบียบหรือคำสั่งกำหนดหลักเกณฑ์และการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจ เพื่อให้เป็นไปตามประกาศนี้ ข้อ ๑๑[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี [เอกสารแนบท้าย] ๑. หนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะ (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/กัญฑรัตน์/จัดทำ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ /ตรวจ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๒๗๙ ง/หน้า ๔/๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
736505
ประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เรื่อง กำหนดระดับเสียงของเครื่องขยายเสียงที่ใช้ในการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558
ประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เรื่อง กำหนดระดับเสียงของเครื่องขยายเสียงที่ใช้ในการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดระดับเสียงของเครื่องขยายเสียงที่ใช้ในการชุมนุมสาธารณะ เพื่อไม่ให้เป็นอันตรายต่อสุขอนามัยของผู้ชุมนุมและไม่เป็นการรบกวนหรือก่อความเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อื่น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๕ (๗) แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ระดับเสียงทั่วไป” หมายความว่า ระดับเสียงที่เกิดขึ้นจากการใช้เครื่องขยายเสียงในการชุมนุมสาธารณะ “ค่าระดับเสียงสูงสุด” หมายความว่า ค่าระดับเสียงสูงสุดที่เกิดขึ้นในขณะหนึ่ง ระหว่างการตรวจวัดระดับเสียงของเครื่องขยายเสียงที่ใช้ในการชุมนุมสาธารณะ โดยมีหน่วยเป็นเดซิเบลเอ หรือ dB(A) ข้อ ๒ ห้ามมิให้ใช้เครื่องขยายเสียงเกินกำหนดระดับเสียงทั่วไปไว้ ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าระดับเสียงสูงสุด ไม่เกิน ๑๑๕ เดซิเบลเอ (๒) ค่าระดับเสียงเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง ไม่เกิน ๗๐ เดซิเบลเอ ข้อ ๓ ห้ามมิให้ใช้เครื่องขยายเสียงในการชุมนุมสาธารณะอันเป็นการรบกวนผู้อื่น โดยให้กำหนดระดับเสียงรบกวนเท่ากับ ๑๐ เดซิเบลเอ ข้อ ๔ วิธีการตรวจวัดระดับเสียงสูงสุด ระดับเสียงเฉลี่ย และระดับเสียงรบกวนที่เกิดจากการใช้เครื่องขยายเสียงในการชุมนุมสาธารณะ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ข้อ ๕[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ พลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ ปริญสินีย์/ผู้ตรวจ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๒๓๖ ง/หน้า ๒๔/๒ ตุลาคม ๒๕๕๘
560739
พระราชบัญญัติการช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเล พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ การช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๐ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเล จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “การช่วยเหลือกู้ภัย” หมายความว่า การกระทำหรือกิจกรรมใดที่ได้กระทำขึ้นเพื่อช่วยเหลือเรือหรือทรัพย์สินอย่างอื่นซึ่งประสบภยันตรายในทะเลหรือน่านน้ำใด ๆ “เรือ” หมายความว่า ยานพาหนะทางน้ำทุกชนิด “เรือเดินทะเล” หมายความว่า เรือที่มีลักษณะสำหรับใช้ในทะเล ตามกฎข้อบังคับสำหรับการตรวจเรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทย “ทรัพย์สิน” หมายความว่า ทรัพย์สินใด ๆ ที่ไม่ได้มุ่งหมายให้ติดตรึงถาวรอยู่กับแนวชายฝั่ง และให้หมายความรวมถึงสิทธิที่จะได้รับค่าระวางด้วย “ความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม” หมายความว่า ความเสียหายอย่างมากทางกายภาพแก่สุขอนามัยของมนุษย์ สิ่งมีชีวิตทางทะเล หรือทรัพยากรในน่านน้ำชายฝั่งทะเล ในน่านน้ำในประเทศ หรือบริเวณต่อเนื่องใกล้เคียง ซึ่งเกิดขึ้นจากมลพิษ การปนเปื้อน อัคคีภัย การระเบิดหรืออุบัติภัยร้ายแรงอื่นที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน “เงินตอบแทน” หมายความว่า เงินรางวัล หรือเงินค่าทดแทนพิเศษ ซึ่งต้องจ่ายตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่ (๑) การช่วยเหลือกู้ภัยที่กระทำในน่านน้ำในประเทศ โดยไม่มีเรือเดินทะเลเข้ามาเกี่ยวข้อง (๒) เรือรบ หรือเรืออื่นใดที่รัฐเป็นเจ้าของและดำเนินการ โดยไม่ได้ใช้หรือมีไว้ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการพาณิชย์ในขณะที่ทำการช่วยเหลือกู้ภัยนั้น และได้รับความคุ้มกันของรัฐตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศอันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป (๓) แท่นที่ตั้งอยู่กับที่หรือลอยน้ำ หรือฐานขุดเจาะในทะเลที่เคลื่อนที่ได้ หากแท่นหรือฐานขุดเจาะนั้นอยู่ในที่ตั้งในขณะที่กำลังทำการสำรวจ แสวงหาประโยชน์ หรือผลิตทรัพยากรแร่ธาตุใต้ท้องทะเล มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมวด ๑ การปฏิบัติการช่วยเหลือกู้ภัย ส่วนที่ ๑ สัญญาการช่วยเหลือกู้ภัย มาตรา ๗ ในการทำสัญญาการช่วยเหลือกู้ภัย ให้นายเรือมีอำนาจทำสัญญาแทนเจ้าของเรือ และให้เจ้าของเรือหรือนายเรือมีอำนาจทำสัญญาแทนเจ้าของทรัพย์สินบนเรือ มาตรา ๘ ในการบังคับตามสัญญาการช่วยเหลือกู้ภัย ถ้าศาลเห็นว่าสัญญานั้นได้ตกลงทำขึ้นภายใต้ความกดดันโดยมิชอบหรือความกดดันอันเกิดจากภยันตรายที่คุกคาม และมีข้อกำหนดหรือเงื่อนไขที่ไม่เป็นธรรม หรือเห็นว่าเงินตอบแทนตามสัญญานั้นได้กำหนดไว้สูงหรือต่ำจนเกินไปเมื่อคำนึงถึงสภาพการปฏิบัติการที่ได้เกิดขึ้นจริง ศาลอาจมีคำสั่งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (๑) ไม่ใช้สัญญานั้นทั้งหมดหรือบางส่วนบังคับแก่คู่สัญญา และใช้บทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้บังคับแทน (๒) ปรับเปลี่ยนข้อกำหนดหรือเงื่อนไขของสัญญานั้น (๓) เพิ่มหรือลดจำนวนเงินตอบแทนที่กำหนดไว้ในสัญญานั้นให้เหมาะสมกับสภาพการปฏิบัติการที่ได้เกิดขึ้นจริง ส่วนที่ ๒ หน้าที่ในการช่วยเหลือกู้ภัย มาตรา ๙ ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยมีหน้าที่ต่อเจ้าของเรือ นายเรือและเจ้าของทรัพย์สินอย่างอื่นที่ประสบภยันตราย ดังต่อไปนี้ (๑) ปฏิบัติการช่วยเหลือกู้ภัยด้วยความระมัดระวังตามสมควร (๒) ในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ตาม (๑) ต้องใช้ความระมัดระวังตามสมควรเพื่อป้องกันมิให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม หรือบรรเทาความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด (๓) ขอความช่วยเหลือจากผู้ช่วยเหลือกู้ภัยรายอื่นเมื่อมีเหตุอันควร (๔) ยอมให้ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยรายอื่นปฏิบัติการหรือเข้าร่วมปฏิบัติการ เมื่อได้รับการร้องขออันควรจากเจ้าของเรือ นายเรือหรือเจ้าของทรัพย์สินอย่างอื่นที่ประสบภยันตราย ทั้งนี้ ถ้าปรากฏว่าการร้องขอดังกล่าวมีขึ้นโดยไม่มีเหตุอันควร ให้การปฏิบัติการหรือเข้าร่วมปฏิบัติการของผู้ช่วยเหลือกู้ภัยรายอื่นนั้น ไม่มีผลกระทบต่อเงินรางวัลที่พึงจะได้รับ มาตรา ๑๐ ในกรณีที่เรือหรือทรัพย์สินอย่างอื่นประสบภยันตราย เจ้าของเรือ นายเรือหรือเจ้าของทรัพย์สินอย่างอื่น มีหน้าที่ต่อผู้ช่วยเหลือกู้ภัย ดังต่อไปนี้ (๑) ให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่ในระหว่างการปฏิบัติการช่วยเหลือกู้ภัย (๒) ในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ตาม (๑) ต้องใช้ความระมัดระวังตามสมควร เพื่อป้องกันมิให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม หรือบรรเทาความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด (๓) ต้องรับมอบเรือหรือทรัพย์สินอย่างอื่นคืน เมื่อเรือหรือทรัพย์สินอย่างอื่นนั้น ได้ไปอยู่ในสถานที่ปลอดภัยแล้ว และได้รับการร้องขอโดยมีเหตุอันควรจากผู้ช่วยเหลือกู้ภัย มาตรา ๑๑ นายเรือมีหน้าที่ต้องช่วยเหลือบุคคลที่ตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิตในทะเลตามความสามารถที่จะกระทำได้โดยไม่ก่อให้เกิดภยันตรายอย่างร้ายแรงแก่เรือและบุคคลบนเรือของตน เจ้าของเรือไม่ต้องรับผิดในผลที่นายเรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง หมวด ๒ สิทธิของผู้ช่วยเหลือกู้ภัย มาตรา ๑๒ ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยมีสิทธิได้รับเงินรางวัล ถ้าการช่วยเหลือกู้ภัยนั้น เป็นประโยชน์ต่อการทำให้เรือหรือทรัพย์สินอย่างอื่นปลอดภัย สิทธิในการได้รับเงินรางวัลย่อมไม่เสียไป แม้ว่าเรือที่ปฏิบัติการช่วยเหลือกู้ภัยจะเป็นเจ้าของเดียวกันกับเรือที่ประสบภยันตราย มาตรา ๑๓ การกำหนดเงินรางวัล ให้ใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้ประกอบกัน ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงการส่งเสริมให้มีการช่วยเหลือกู้ภัย (๑) มูลค่าของเรือและทรัพย์สินอย่างอื่นตามสภาพที่ช่วยเหลือกู้ภัยไว้ได้ (๒) ทักษะและความพยายามของผู้ช่วยเหลือกู้ภัยในการป้องกันมิให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม หรือบรรเทาความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด (๓) ระดับของความสำเร็จของการช่วยเหลือกู้ภัย (๔) สภาพและระดับความรุนแรงของภยันตราย (๕) ทักษะและความพยายามของผู้ช่วยเหลือกู้ภัยในการช่วยเหลือกู้ภัยเรือ ทรัพย์สินอย่างอื่น และชีวิตบุคคล (๖) เวลาที่เสียไปและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น รวมทั้งความสูญเสียที่เกิดแก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัย (๗) ความเสี่ยงต่อความรับผิดและความเสี่ยงอย่างอื่นที่เกิดแก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการช่วยเหลือกู้ภัย (๘) ความฉับพลันในการให้บริการ (๙) เรือและเครื่องมือต่าง ๆ ที่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยมีไว้ใช้และที่ได้ใช้ในการช่วยเหลือกู้ภัย (๑๐) การเตรียมพร้อม ประสิทธิภาพและมูลค่าของอุปกรณ์ต่าง ๆ ของผู้ช่วยเหลือกู้ภัย มาตรา ๑๔ ผู้มีส่วนได้เสียในเรือหรือทรัพย์สินอย่างอื่นต้องจ่ายเงินรางวัลตามส่วนแห่งมูลค่าของเรือและทรัพย์สินอย่างอื่นตามสภาพที่ช่วยเหลือกู้ภัยไว้ได้ ในกรณีที่การช่วยเหลือกู้ภัยเป็นประโยชน์ต่อการทำให้เรือและทรัพย์สินบนเรือปลอดภัย ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยจะเรียกเอาเงินรางวัลทั้งหมดนั้นจากเจ้าของเรือก็ได้ ในกรณีที่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยใช้สิทธิตามวรรคสอง เจ้าของเรือซึ่งจ่ายเงินรางวัลไปนั้น มีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้มีส่วนได้เสียในเรือหรือทรัพย์สินบนเรือตามส่วนที่ผู้มีส่วนได้เสียนั้นจะต้องจ่ายตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๑๕ เงินรางวัลจะต้องไม่เกินมูลค่าของเรือและทรัพย์สินอย่างอื่นตามสภาพที่ช่วยเหลือกู้ภัยไว้ได้ ทั้งนี้ ไม่รวมถึงดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายในการใช้สิทธิเรียกร้อง มาตรา ๑๖ ในกรณีที่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยได้ปฏิบัติการช่วยเหลือกู้ภัยเรือ ซึ่งเรือลำนั้นเองหรือสินค้าบนเรือได้คุกคามต่อการที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม และผู้ช่วยเหลือกู้ภัยไม่ได้รับเงินรางวัลตามมาตรา ๑๓ หรือได้รับเงินรางวัลตามมาตรา ๑๓ แต่น้อยกว่าค่าใช้จ่ายของผู้ช่วยเหลือกู้ภัย ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยนั้นมีสิทธิที่จะได้รับเงินค่าทดแทนพิเศษตามที่กำหนดไว้ในมาตรานี้จากเจ้าของเรือลำนั้นเท่ากับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นแก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัย หรือส่วนต่างระหว่างค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นแก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยกับเงินรางวัลตามมาตรา ๑๓ แล้วแต่กรณี ในกรณีตามที่ได้ระบุไว้ในวรรคหนึ่ง ถ้าการปฏิบัติการช่วยเหลือกู้ภัยซึ่งผู้ช่วยเหลือกู้ภัยได้ป้องกันมิให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม หรือบรรเทาความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด เงินค่าทดแทนพิเศษซึ่งเจ้าของเรือพึงจ่ายให้แก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัย อาจเพิ่มขึ้นได้อย่างสูงถึงร้อยละสามสิบของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นแก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัย ทั้งนี้ ศาลอาจเพิ่มเงินค่าทดแทนพิเศษขึ้นได้อีกหากศาลเห็นว่าเป็นธรรมและยุติธรรม โดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๓ อย่างไรก็ตามเงินค่าทดแทนพิเศษทั้งหมดที่จะได้รับต้องไม่เกินสองเท่าของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นแก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัย ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นแก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้หมายถึงค่าใช้จ่ายที่จำเป็นโดยมีเหตุอันควรที่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยต้องจ่ายไป รวมถึงอัตราที่เป็นธรรมสำหรับอุปกรณ์และบุคลากรที่ได้ใช้ไปจริงและมีเหตุอันควร ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงเกณฑ์ตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๓ (๘) (๙) และ (๑๐) ถ้าผู้ช่วยเหลือกู้ภัยประมาทเลินเล่อและไม่ทำการป้องกันมิให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมหรือบรรเทาความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยนั้นอาจถูกตัดสิทธิที่จะได้รับเงินค่าทดแทนพิเศษตามมาตรานี้ทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วน แล้วแต่กรณี บทบัญญัติตามมาตรานี้ไม่กระทบถึงสิทธิไล่เบี้ยของเจ้าของเรือ มาตรา ๑๗ ในกรณีที่มีผู้ช่วยเหลือกู้ภัยหลายราย ให้ใช้เกณฑ์ตามมาตรา ๑๓ เป็นฐานของการคำนวณเงินรางวัลระหว่างผู้ช่วยเหลือกู้ภัยเหล่านั้น มาตรา ๑๘ ในกรณีที่การช่วยเหลือกู้ภัยได้ปฏิบัติการจากเรือไทย การแบ่งเงินรางวัลระหว่างเจ้าของเรือและคนประจำเรือให้พิจารณาว่าการปฏิบัติการนั้นเป็นการนำเรือเข้าเสี่ยงภัยหรือเป็นการปฏิบัติการที่อาศัยทักษะหรือความสามารถเฉพาะตัวของคนประจำเรือ ถ้าปรากฏว่าเป็นกรณีนำเรือเข้าเสี่ยงภัย ให้เงินรางวัลส่วนใหญ่ตกแก่เจ้าของเรือ แต่ถ้าเป็นกรณีที่อาศัยทักษะหรือความสามารถเฉพาะตัวของคนประจำเรือโดยเฉพาะ ให้เงินรางวัลส่วนใหญ่ตกแก่คนประจำเรือทุกคน โดยระหว่างคนประจำเรือด้วยกัน ให้ได้รับส่วนแบ่งเงินรางวัลในอัตราส่วนที่เท่ากัน ทั้งนี้ เว้นแต่จะตกลงกันโดยชัดแจ้งไว้เป็นอย่างอื่น ในกรณีที่การช่วยเหลือกู้ภัยได้ปฏิบัติการจากเรือต่างประเทศ การแบ่งเงินรางวัลระหว่างเจ้าของเรือและคนประจำเรือ ให้เป็นไปตามกฎหมายของประเทศที่เรือนั้นชักธง มาตรา ๑๙ ในกรณีที่การช่วยเหลือกู้ภัยไม่ได้ปฏิบัติการจากเรือ การแบ่งเงินรางวัลระหว่างผู้ช่วยเหลือกู้ภัยกับลูกจ้างที่ตนได้ใช้ในการปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับแก่สัญญาระหว่างผู้ช่วยเหลือกู้ภัยกับลูกจ้างนั้น ในกรณีที่กฎหมายที่ใช้บังคับแก่สัญญาระหว่างผู้ช่วยเหลือกู้ภัยกับลูกจ้างเป็นกฎหมายไทย ให้นำบทบัญญัติในมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๒๐ ผู้ที่กระทำการช่วยชีวิตผู้ประสบภัยไม่มีสิทธิเรียกเงินตอบแทนจากผู้ประสบภัยที่รอดชีวิตจากการกระทำนั้น ในการช่วยเหลือกู้ภัยที่มีการช่วยชีวิตผู้ประสบภัย ให้ผู้ที่กระทำการช่วยชีวิตนั้นมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งที่เป็นธรรมจากเงินตอบแทนที่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยได้รับ มาตรา ๒๑ ในกรณีที่มีการช่วยชีวิตผู้ประสบภัย ถ้าผู้ที่กระทำการช่วยชีวิตได้กระทำการช่วยเหลือกู้ภัยด้วยในคราวเดียวกัน ศาลอาจเพิ่มเงินตอบแทนที่ผู้กระทำการช่วยชีวิตผู้ประสบภัยจะได้รับก็ได้ มาตรา ๒๒ ในกรณีที่มีการทำสัญญาไว้ก่อนเกิดภยันตราย การปฏิบัติตามสัญญานั้นไม่ก่อให้เกิดสิทธิที่จะได้รับเงินตอบแทน เว้นแต่การปฏิบัติการนั้นเป็นการกระทำนอกเหนือไปจากขอบเขตหน้าที่ตามสัญญานั้น มาตรา ๒๓ หากการช่วยเหลือกู้ภัยจำเป็นต้องมีขึ้นหรือต้องยากขึ้นเพราะความผิดหรือการละเลยต่อหน้าที่ของผู้ช่วยเหลือกู้ภัย ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยนั้นอาจเสียสิทธิในการได้รับเงินตอบแทนไปทั้งหมดหรือบางส่วน หากผู้ช่วยเหลือกู้ภัยกระทำการโดยกลฉ้อฉลหรือไม่สุจริต ย่อมสิ้นไปซึ่งสิทธิที่จะได้รับเงินตอบแทนโดยสิ้นเชิง มาตรา ๒๔ การช่วยเหลือกู้ภัยไม่ก่อให้เกิดสิทธิที่จะได้รับเงินตอบแทน หากได้กระทำไปโดยฝ่าฝืนคำสั่งห้ามอันชัดแจ้งและมีเหตุผลอันสมควรของบุคคล ดังต่อไปนี้ (๑) เจ้าของเรือหรือนายเรือ ในกรณีการช่วยเหลือกู้ภัยเรือ ทรัพย์สินบนเรือ หรือทรัพย์สินที่เคยอยู่บนเรือ (๒) เจ้าของทรัพย์สินอย่างอื่นที่ประสบภยันตราย ในกรณีการช่วยเหลือกู้ภัยทรัพย์สินที่ไม่ได้อยู่และไม่เคยอยู่บนเรือ หมวด ๓ สิทธิเรียกร้องเงินตอบแทนและการดำเนินคดี มาตรา ๒๕ ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยย่อมมีบุริมสิทธิทางทะเลเกี่ยวกับสิทธิเรียกร้องในเงินตอบแทนจากการช่วยเหลือกู้ภัยเรือ แต่หากมีการวางหลักประกันเพื่อสิทธิเรียกร้องดังกล่าวอันเป็นที่พอใจ ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยนั้นไม่อาจอ้างบุริมสิทธิทางทะเลเหนือเรือนั้นได้อีก มาตรา ๒๖ หากผู้ช่วยเหลือกู้ภัยร้องขอ ให้บุคคลซึ่งต้องรับผิดในเงินตอบแทนจัดให้มีหลักประกันเพื่อสิทธิเรียกร้องในเงินตอบแทนอันเป็นที่พอใจ รวมถึงดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายในการใช้สิทธิเรียกร้องนั้นด้วย มาตรา ๒๗ ก่อนที่จะปล่อยสินค้าไปจากเรือ เจ้าของเรือต้องใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ให้เจ้าของสินค้าจัดให้มีหลักประกันเพื่อสิทธิเรียกร้องในเงินตอบแทนอันเป็นที่พอใจ รวมถึงดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายในการใช้สิทธิเรียกร้องนั้น ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ช่วยเหลือกู้ภัยจะร้องขอตามมาตรา ๒๖ หรือไม่ก็ตาม มาตรา ๒๘ ห้ามมิให้เคลื่อนย้ายเรือและทรัพย์สินอย่างอื่นที่ได้รับการช่วยเหลือกู้ภัยออกไปจากท่าเรือหรือสถานที่ที่เรือและทรัพย์สินอย่างอื่นนั้นมาถึงหลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติการช่วยเหลือกู้ภัยโดยปราศจากความยินยอมจากผู้ช่วยเหลือกู้ภัย เว้นแต่มีการวางหลักประกันเพื่อสิทธิเรียกร้องในเงินตอบแทนของผู้ช่วยเหลือกู้ภัยต่อเรือหรือทรัพย์สินอย่างอื่นที่เกี่ยวข้อง มาตรา ๒๙ คำฟ้องเกี่ยวกับสิทธิเรียกร้องที่เกิดจากการช่วยเหลือกู้ภัยตามพระราชบัญญัตินี้ ให้อยู่ในเขตอำนาจของศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ มาตรา ๓๐ ในกรณีที่การเรียกร้องเงินตอบแทนเป็นข้อพิพาทเฉพาะเรื่องเงินตอบแทน ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยอาจยื่นคำขอฝ่ายเดียวโดยทำเป็นคำร้องขอต่อศาลในเวลาใด ๆ ก่อนพิพากษา ขอให้ศาลมีคำสั่งให้บุคคลซึ่งต้องรับผิดในเงินตอบแทนจ่ายเงินตอบแทนในจำนวนที่ไม่โต้แย้งกัน เมื่อศาลได้รับคำร้องนี้แล้วให้ดำเนินการไต่สวนก่อนก็ได้ ศาลอาจพิจารณาสั่งให้ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยได้รับเงินตอบแทนตามจำนวนที่ร้องขอ เมื่อผู้ช่วยเหลือกู้ภัยได้รับเงินตอบแทนตามจำนวนนั้นแล้ว ให้ลดหลักประกันที่วางไว้ตามมาตรา ๒๖ แก่บุคคลซึ่งต้องรับผิดในเงินตอบแทนตามส่วน มาตรา ๓๑ สิทธิเรียกร้องในเงินตอบแทน ถ้าไม่ได้ฟ้องคดีต่อศาลภายในสองปีนับแต่วันที่การช่วยเหลือกู้ภัยสิ้นสุดลง ให้เป็นอันขาดอายุความ มาตรา ๓๒ สินค้าซึ่งมิใช่เพื่อประโยชน์ในทางพาณิชย์ของรัฐหนึ่งรัฐใดซึ่งได้รับความคุ้มกันของรัฐ ย่อมไม่ตกอยู่ภายใต้การยึด กัก หรือยึดหน่วงตามกฎหมาย เว้นแต่เป็นกรณีที่รัฐซึ่งเป็นเจ้าของสินค้านั้นให้ความยินยอม มาตรา ๓๓ สินค้าเพื่อมนุษยธรรมซึ่งรัฐหนึ่งรัฐใดได้บริจาค ย่อมไม่ตกอยู่ภายใต้การยึด กัก หรือยึดหน่วงตามกฎหมาย หากรัฐนั้นได้ตกลงจ่ายเงินตอบแทน บทเฉพาะกาล มาตรา ๓๔ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่การช่วยเหลือกู้ภัยที่กระทำขึ้นก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากการเดินเรืออาจต้องประสบภยันตรายอันก่อให้เกิดความเสียหายแก่เรือ ทรัพย์สิน หรือบุคคลบนเรือ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือกู้ภัย การกำหนดเงินตอบแทนให้แก่ผู้ช่วยเหลือกู้ภัยจะส่งเสริมให้มีการช่วยเหลือเรือหรือทรัพย์สินที่ประสบภยันตรายทางทะเล และบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดแก่สิ่งแวดล้อม ประกอบกับการช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเลมีลักษณะเฉพาะ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสากล สมควรมีกฎหมายพิเศษที่วางหลักเกี่ยวกับเรื่องการช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเลเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในการช่วยเหลือกู้ภัยและหลักเกณฑ์เกี่ยวกับสิทธิในการได้รับเงินตอบแทนของผู้ช่วยเหลือกู้ภัย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ กองกฎหมายไทย ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ก/หน้า ๑/๑ สิงหาคม ๒๕๕๐
544430
พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. 2542 (ฉบับ Update ล่าสุด)
พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ การซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒” มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “สินค้าเกษตร” หมายความว่า ผลิตผลทางเกษตรกรรมและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปผลิตผลทางเกษตรกรรม ซึ่งคณะกรรมการตลาดกำหนดให้มีการซื้อขายล่วงหน้า “การซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า การซื้อขายสินค้าเกษตรโดยวิธีการประมูลโดยเปิดเผยในตลาดเพื่อรับมอบหรือส่งมอบสินค้าเกษตรนั้นในวันข้างหน้าตามปริมาณและราคาที่ตกลงกันตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนด “ข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า คำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายสินค้าเกษตร ซึ่งผู้ซื้อหรือผู้ขายส่งเข้าตลาด และได้รับการยืนยันการซื้อขายเกี่ยวกับปริมาณ ราคา ระยะเวลารับมอบหรือส่งมอบสินค้าเกษตรนั้นจากตลาดแล้ว “ธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า (๑) การเป็นผู้ค้าล่วงหน้า (๒) การเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๓) การเป็นที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า (๔) การเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (๕) การเป็นผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า (๖) การประกอบธุรกิจอื่นที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตรตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด “ผู้ค้าล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้ทำการซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเอง “นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้จัดหาและรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้า “ที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้ประกอบธุรกิจให้คำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ผู้ซึ่งประสงค์จะซื้อขายล่วงหน้าในตลาด “ตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้เป็นตัวแทนของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ในการจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้า “ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้บริหารและจัดการธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า “ธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า (๑) การจัดการเงินทุนส่วนบุคคล โดยการจัดการเงินทุนให้แก่บุคคลแต่ละราย ตั้งแต่ห้ารายขึ้นไป หรือคณะบุคคลตั้งแต่หนึ่งคณะ เพื่อแสวงหาประโยชน์จากการซื้อขายล่วงหน้า (๒) การจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า โดยการระดมทุนจากบุคคลหรือคณะบุคคล เพื่อแสวงหาประโยชน์จากการซื้อขายล่วงหน้า “สมาชิก” หมายความว่า ผู้ค้าล่วงหน้าและนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการตลาดให้ซื้อขายล่วงหน้าในตลาด “ลูกค้า” หมายความว่า ผู้ซื้อหรือผู้ขายซึ่งทำการซื้อขายล่วงหน้าในตลาดโดยผ่านนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า “เงินประกัน” หมายความว่า เงินและทรัพย์สินที่วางไว้เพื่อเป็นหลักประกันการซื้อขายล่วงหน้า “ผู้จัดการ” หมายความว่า ผู้จัดการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงและแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ การกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับธุรกิจการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจำนวนห้าคนเป็นกรรมการ โดยในจำนวนนี้อย่างน้อยต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ด้านการพาณิชย์ ด้านการเงิน หรือด้านการเกษตรด้านละหนึ่งคน และเลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ กรรมการ ก.ส.ล. จะเป็นกรรมการในคณะกรรมการตลาดหรือคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ไม่ได้ มาตรา ๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งต้องไม่เป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง มาตรา ๗ ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจและหน้าที่วางนโยบายการส่งเสริมและพัฒนา ตลอดจนกำกับดูแลการซื้อขายล่วงหน้า การประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่องกับการซื้อขายล่วงหน้า และให้มีอำนาจและหน้าที่ดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือข้อกำหนดตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๓) กำหนดค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๔) ให้ความเห็นชอบจำนวนเงินอุดหนุนและเงินสมทบที่ตลาดจัดสรรให้สำนักงานและกองทุนพัฒนาตลาดตามมาตรา ๗๔ วรรคสอง (๕) ให้ความเห็นชอบระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกโดยคณะกรรมการตลาดตามมาตรา ๗๘ (๑) (๔) (๕) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) และ (๑๖) (๖) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการพิจารณาและชี้ขาดข้อพิพาทของเลขาธิการตามมาตรา ๑๑๖ (๗) สั่งห้ามการซื้อขายล่วงหน้า หรือสั่งให้คณะกรรมการตลาดหรือผู้จัดการกระทำการหรืองดเว้นกระทำการตามมาตรา ๑๒๕ (๘) สั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือตลาดชี้แจงข้อเท็จจริงทำรายงาน ตลอดจนมีอำนาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า (๙) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการ (๑๐) ออกระเบียบ คำสั่ง และข้อบังคับเกี่ยวกับการพนักงาน ระบบพนักงานสัมพันธ์ การบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน วินัย และการลงโทษพนักงานและลูกจ้างของสำนักงาน การกำหนดอัตราเงินเดือนและเงินตอบแทนอื่น การสงเคราะห์และสวัสดิการ และการมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทนเลขาธิการ (๑๑) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งให้มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี เมื่อครบกำหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง ให้ดำเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ภายในหกสิบวัน ในระหว่างที่ยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อดำเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ มาตรา ๙ เมื่อครบสองปีนับแต่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ก.ส.ล. ครั้งแรก ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจำนวนสามคนออกจากตำแหน่งโดยวิธีจับสลาก และให้ถือว่าการออกจากตำแหน่งโดยการจับสลากเป็นการออกตามวาระ มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตำแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะปฏิบัติหน้าที่บกพร่องอย่างร้ายแรง (๔) เป็นบุคคลล้มละลาย (๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๖) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๖ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ คณะรัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทนอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งตนแทน มาตรา ๑๑ การประชุมของคณะกรรมการ ก.ส.ล. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม มติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๑๒ กรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสียใด ๆ ในเรื่องที่พิจารณา ห้ามมิให้เข้าร่วมพิจารณาในเรื่องนั้น มาตรา ๑๓ คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดอันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ แล้วรายงานต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. การประชุมของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้นำมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๔ ให้ประธานกรรมการ ก.ส.ล. กรรมการ ก.ส.ล. และอนุกรรมการได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่รัฐมนตรีกำหนด และให้ถือว่าประโยชน์ตอบแทนนั้นเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของสำนักงาน ส่วนที่ ๒ สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า มาตรา ๑๕ ให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าขึ้น และให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล กิจการของสำนักงานตามวรรคหนึ่งไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าชดเชย กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน และกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ สำนักงานไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น และรายได้ของสำนักงานไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน มาตรา ๑๖ ให้สำนักงานมีสำนักงานแห่งใหญ่ในกรุงเทพมหานครหรือในจังหวัดอื่นที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๑๗ ให้สำนักงานมีอำนาจและหน้าที่ปฏิบัติการเพื่อให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการ ก.ส.ล. และอำนาจและหน้าที่เช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) ปฏิบัติหน้าที่ด้านธุรการของคณะกรรมการ ก.ส.ล. และคณะอนุกรรมการ (๒) ถือกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพย์สินต่าง ๆ สร้าง ซื้อ จัดหา ขาย จำหน่าย เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ ยืม ให้ยืม รับจำนำ รับจำนอง แลกเปลี่ยน โอน รับโอน หรือดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน ทั้งในและนอกราชอาณาจักร ตลอดจนรับทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ (๓) กู้ ยืม ให้กู้หรือให้ยืมเงิน และลงทุนหาผลประโยชน์ (๔) กำหนดค่าบริการในการดำเนินงานของสำนักงาน (๕) รับค่าธรรมเนียมตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๖) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานหรือตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. มอบหมาย ทั้งนี้ เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจการของสำนักงาน มาตรา ๑๘ ให้คณะรัฐมนตรีโดยคำแนะนำของรัฐมนตรีแต่งตั้งเลขาธิการ ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ มาตรา ๑๙ เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (๓) มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และสามารถปฏิบัติงานให้สำนักงานได้เต็มเวลา (๔) ไม่เป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ รวมทั้งพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (๕) ไม่ดำรงตำแหน่งหรือมีหน้าที่หรือมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๖) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (๗) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๘) ไม่เคยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๒๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ เลขาธิการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีมีมติให้ออกตามข้อเสนอของคณะกรรมการ ก.ส.ล. เนื่องจากกระทำความผิดต่อหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือบกพร่องต่อหน้าที่อย่างร้ายแรง (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑ ภายในระยะเวลาสามปีนับแต่พ้นจากตำแหน่ง เลขาธิการจะเป็นผู้ถือหุ้น เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจจัดการกิจการ หรือที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้ามิได้ มาตรา ๒๒ เลขาธิการมีอำนาจและหน้าที่ในการออกใบอนุญาตและควบคุมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และดำเนินกิจการของสำนักงานให้เป็นไปตามนโยบายและมติของคณะกรรมการ ก.ส.ล. รวมถึงระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคำสั่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของสำนักงาน ในการดำเนินกิจการ เลขาธิการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๒๓ ในกิจการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสำนักงาน และเพื่อการนี้ เลขาธิการจะมอบอำนาจให้พนักงานของสำนักงานคนใดคนหนึ่งกระทำการเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๒๔ ให้สำนักงานจัดให้มีระบบบัญชีที่เหมาะสมกับกิจการของสำนักงาน และจัดให้มีการสอบบัญชีภายในเป็นประจำ มาตรา ๒๕ ให้สำนักงานจัดทำงบดุลและบัญชีรายได้รายจ่าย ส่งผู้สอบบัญชีภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีของทุกปี รอบระยะเวลาบัญชีปกติให้นับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม และสิ้นสุดลงในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ของทุกปี เฉพาะในปีแรกให้เริ่มนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและสิ้นสุดลงในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ของปีนั้น ให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีของสำนักงานทุกรอบปี แล้วทำรายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. หมวด ๒ ธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ส่วนที่ ๑ ผู้ค้าล่วงหน้า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า ตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า และผู้ประกอบธุรกิจอื่น มาตรา ๒๖ ผู้ใดจะประกอบธุรกิจเป็นผู้ค้าล่วงหน้า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า ตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า และผู้ประกอบธุรกิจอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ การขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ในการออกใบอนุญาต เลขาธิการจะกำหนดเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจไว้ด้วยก็ได้ มาตรา ๒๗[๒] ในการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ให้เลขาธิการตรวจสอบหลักฐานของผู้ขออนุญาตในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นผู้ค้าล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (ข) กรรมการของผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (ค) ผู้ขออนุญาตมีพนักงานซึ่งสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว ตามจำนวนที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๒) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (ข) กรรมการของผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (ค) ผู้ขออนุญาตมีพนักงานซึ่งสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว ตามจำนวนที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๓) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตมีประสบการณ์เกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า และมีความรู้ความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเกี่ยวกับสินค้าเกษตร (ข) ในกรณีผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคล จะต้องมีบุคลากรที่มีคุณสมบัติตาม (ก) และคุณสมบัติอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๔) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตมีความประพฤติดี และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (ข) ผู้ขออนุญาตสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว มาตรา ๒๘ ในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และเพื่อพิทักษ์ประโยชน์ของประชาชน ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจกำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมตามที่เห็นสมควรเพื่อให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ และมาตรา ๔๔ ปฏิบัติ เมื่อความจำเป็นตามวรรคหนึ่งหมดหรือเปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการ ก.ส.ล. อาจแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่กำหนดไว้นั้นได้ มาตรา ๒๙ ผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ถือว่าได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ค้าล่วงหน้าด้วย มาตรา ๓๐ ในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าทำสัญญาเป็นหนังสือกับลูกค้าเพื่อทำการซื้อขายล่วงหน้าแทนลูกค้า โดยมีรายละเอียดอันเป็นสาระสำคัญแห่งสัญญา เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่คู่สัญญาตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามอัตราที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๑ ตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าจะดำเนินการจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าได้ เมื่อมีการแจ้งชื่อตัวแทนซื้อขายล่วงหน้านั้นต่อเลขาธิการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เลขาธิการกำหนด ให้เลขาธิการแจ้งชื่อตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าตามวรรคหนึ่งให้ตลาดทราบ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิก มาตรา ๓๒ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ต้องประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๓ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ อาจมีสำนักงานสาขา หรือย้ายสำนักงานแห่งใหญ่ สำนักงานสาขาหรือสถานที่ทำการได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ การขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๔ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ต้องดำรงฐานะทางการเงินตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๕ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นบุคคลล้มละลาย (๒)[๓] เคยถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ (๓) เคยเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๔) เคยเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ (๕) เคยถูกถอดถอนจากการเป็นประธานกรรมการ กรรมการ หรือผู้จัดการของสถาบันการเงินใด เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๖) เคยถูกถอดถอนตามมาตรา ๖๐ (๗) เป็นบุคคลซึ่งไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน หรือคุณสมบัติตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๘) ลักษณะต้องห้ามอย่างอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๖ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ จะแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ได้รับอนุญาตได้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากเลขาธิการ ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่าบุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ ให้เลขาธิการมีอำนาจเพิกถอนความเห็นชอบที่ให้ไว้แล้วได้ และให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ เสนอชื่อบุคคลอื่นแทนเพื่อขอความเห็นชอบจากเลขาธิการภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่เลขาธิการสั่งเพิกถอนความเห็นชอบ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการซึ่งถูกเพิกถอนความเห็นชอบตามวรรคสองจะดำเนินการหรือเข้าไปเกี่ยวข้องไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่ตนถูกเพิกถอนความเห็นชอบไม่ได้ และต้องอำนวยความสะดวกและให้ข้อเท็จจริงแก่บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งแทน มาตรา ๓๗ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ จัดทำบัญชีเพื่อแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริง โดยให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดโดยสถาบันวิชาชีพที่หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นชอบ และข้อกำหนดเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๘ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ จัดทำงบการเงินตามแบบ วิธีการ และภายในระยะเวลาที่เลขาธิการกำหนด งบการเงินตามวรรคหนึ่งต้องมีการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชี และผู้สอบบัญชีดังกล่าวต้องมิใช่กรรมการ พนักงาน หรือลูกจ้างของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้น ผู้สอบบัญชีตามวรรคสองต้องเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชีและได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๓๙ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ จัดให้มีการเปิดเผยงบการเงินเพื่อให้ประชาชนตรวจดูได้ ณ สถานที่ทำการของผู้ประกอบธุรกิจนั้น และจัดส่งให้เลขาธิการภายในระยะเวลาที่เลขาธิการกำหนด มาตรา ๔๐ ผู้สอบบัญชีตามมาตรา ๓๘ ต้องรักษามรรยาทและปฏิบัติงานสอบบัญชีเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชีและข้อกำหนดเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ในกรณีที่ผู้สอบบัญชีตรวจพบว่าผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ได้ทำเอกสารประกอบการลงบัญชีหรือเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือไม่ครบถ้วน ให้ผู้สอบบัญชีเปิดเผยข้อเท็จจริงหรือความเห็นดังกล่าวพร้อมทั้งผลกระทบที่เป็นสาระสำคัญต่องบการเงินไว้ในรายงานการสอบบัญชีที่ตนจะต้องลงลายมือชื่อเพื่อแสดงความเห็น ผู้สอบบัญชีผู้ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจเพิกถอนการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีผู้นั้นได้ มาตรา ๔๑ เงินที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าได้รับจากลูกค้า มิให้ถือว่าเป็นทรัพย์สินของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือตัวแทนซื้อขายล่วงหน้านั้น มาตรา ๔๒ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าฝากเงินที่ได้รับจากลูกค้าเพื่อใช้ในการซื้อหรือขายล่วงหน้าไว้กับธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด โดยให้แยกบัญชีของลูกค้าแต่ละรายและบัญชีของนายหน้าหรือตัวแทนดังกล่าวออกจากกัน มาตรา ๔๓ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะจ่ายเงินจากบัญชีลูกค้าได้เฉพาะเพื่อการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้า หรือจ่ายตามคำสั่งของลูกค้าเจ้าของบัญชีเท่านั้น ส่วนที่ ๒ ธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๔๔ ผู้ใดจะประกอบธุรกิจเป็นผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ในการนี้คณะกรรมการ ก.ส.ล. จะกำหนดลักษณะการจัดการเงินทุนที่ไม่ต้องขอรับอนุญาตด้วยก็ได้ การขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ในการออกใบอนุญาต เลขาธิการจะกำหนดเงื่อนไขในการดำเนินธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าไว้ด้วยก็ได้ การจัดตั้งและการบริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าตามส่วนนี้ไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มาตรา ๔๕ ในการออกใบอนุญาตตามมาตรา ๔๔ ให้เลขาธิการตรวจสอบหลักฐานของผู้ขออนุญาตในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ผู้ขออนุญาตเป็นบุคคล หรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และมีฐานะทางการเงินมั่นคง (๒) ผู้ขออนุญาตซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (๓) ประวัติและลักษณะการดำเนินธุรกิจที่ผ่านมาของผู้ขออนุญาตไม่มีข้อบกพร่องหรือขาดความรับผิดชอบหรือความรอบคอบในการบริหารงาน (๔) ความเชี่ยวชาญและความชำนาญในการซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๔๖ ในการรับจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๔๗ ในการจัดตั้งและจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าจะจัดตั้งและจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าได้ เมื่อคำขอจัดตั้งกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้านั้นได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๔๘ ในการยื่นคำขอจัดตั้งกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าตามมาตรา ๔๗ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องส่งเอกสารหลักฐานดังต่อไปนี้ด้วย (๑) โครงการและแผนงาน การจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าตามรายการที่เลขาธิการกำหนด (๒) ร่างข้อผูกพันระหว่างผู้ลงทุนกับผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งต้องไม่มีลักษณะอันไม่เป็นธรรมต่อผู้ลงทุน (๓) ร่างสัญญาจัดตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า มาตรา ๔๙ ข้อผูกพันระหว่างผู้ลงทุนกับผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าตามมาตรา ๔๘ (๒) อย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้ (๑) อำนาจและหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า (๒) การแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า รวมทั้งเงื่อนไขการเปลี่ยนตัว และค่าตอบแทน (๓) อัตราและวิธีการจ่ายค่าตอบแทนและบำเหน็จในการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า (๔) สิทธิของผู้ลงทุน (๕) การเลิกกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ข้อผูกพันตามวรรคหนึ่ง ต้องไม่มีข้อจำกัดความรับผิดของผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าและผู้ดูแลผลประโยชน์ที่มีลักษณะอันไม่เป็นธรรมต่อผู้ลงทุน ข้อความในข้อผูกพันหรือในสัญญาใดที่มีลักษณะที่ขัดบทบัญญัติตามวรรคสองให้ตกเป็นโมฆะ มาตรา ๕๐ ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ต้องมีคุณสมบัติและให้มีอำนาจหน้าที่ตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้ามีสิทธิฟ้องร้องบังคับคดี เพื่อประโยชน์ของผู้ลงทุนทั้งปวงหรือตามคำสั่งของเลขาธิการ เมื่อมีการกระทำการหรืองดเว้นการกระทำการจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ในกรณีที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า กระทำการ งดเว้นกระทำการ หรือละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง จนก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ให้ผู้ลงทุนหรือสำนักงานมีสิทธิร้องทุกข์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือฟ้องร้องบังคับคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีใด ๆ กับผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนดังกล่าว เพื่อประโยชน์ของผู้ลงทุนทั้งปวงได้ ในกรณีที่มีการร้องทุกข์ และพนักงานอัยการยื่นฟ้องคดีอาญา ให้พนักงานอัยการมีอำนาจเรียกทรัพย์สินหรือราคา หรือค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแทนผู้ได้รับความเสียหายด้วย ในการนี้ ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช้บังคับโดยอนุโลม ค่าใช้จ่ายในการฟ้องร้องบังคับคดีตามมาตรานี้เพื่อประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าใด ให้เรียกร้องได้จากทรัพย์สินของกองทุนนั้น มาตรา ๕๑ การระดมทุน โดยการชี้ชวนหรือชักชวนประชาชนหรือบุคคลใด ๆ ให้นำเงินมาลงทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ให้ถือเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทหุ้น และให้อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในส่วนที่เกี่ยวกับการออกหลักทรัพย์ของบริษัทและการเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน มาตรา ๕๒ ทุนที่ระดมได้ตามโครงการของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าใด ให้รวมเข้าเป็นสินทรัพย์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้านั้น และให้จดทะเบียนกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าดังกล่าวกับเลขาธิการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่เลขาธิการกำหนด กองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าเมื่อได้จดทะเบียนตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล มาตรา ๕๓ ในการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการตามโครงการและแผนงานการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าที่เสนอต่อเลขาธิการตามมาตรา ๔๘ (๑) การแก้ไขหรือเพิ่มเติมโครงการและแผนงานการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือการแก้ไขวิธีจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ต้องกระทำตามมติเสียงข้างมากของผู้ลงทุนซึ่งได้ลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดที่ได้ลงไว้ และแจ้งต่อเลขาธิการภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีมติให้แก้ไข ให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าแจ้งการแก้ไขหรือเพิ่มเติมโครงการและแผนงานการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือการแก้ไขวิธีการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าไปยังผู้ลงทุนทุกคนและประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีมติให้แก้ไขหรือเพิ่มเติม มาตรา ๕๔ ในการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ห้ามมิให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้ากระทำการ ดังต่อไปนี้ (๑) นำสินทรัพย์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าไปรวมกับทรัพย์สินของตนหรือของบุคคลอื่น (๒) นำสินทรัพย์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าไปลงทุนในธุรกิจอื่นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. ทั้งนี้ หากมีการนำไปลงทุนในหลักทรัพย์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด โดยการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังกล่าวให้เป็นการพิจารณาร่วมกันระหว่างคณะกรรมการ ก.ส.ล. และคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (๓) กู้ยืมเงินในนามของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่สินทรัพย์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๔) ให้การรับรองแก่ผู้ลงทุนว่าจะมีกำไรในอัตราที่แน่นอน หรือสัญญาว่าจะไม่มีผลขาดทุนในอัตราที่กำหนดไว้โดยแน่นอน (๕) กระทำการใด ๆ อันมีลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์แก่ผู้ลงทุนตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๖) กิจการอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๕๕ ในการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้ามีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดทำและรายงานงบดุลการเงิน บัญชีรายรับรายจ่าย การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ให้ผู้ลงทุนและเลขาธิการทราบ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๒) จัดทำรายงานประจำปีให้แก่ผู้ลงทุนและเลขาธิการภายในเก้าสิบวันนับจากวันสิ้นปีบัญชีตามแบบที่เลขาธิการกำหนด (๓) จัดทำและจัดเก็บข้อมูลรายงานการซื้อขายสินค้าเกษตรแต่ละชนิดในแต่ละวันให้ถูกต้องและเป็นระเบียบเก็บไว้ที่สำนักงานแห่งใหญ่ และต้องอนุญาตให้ผู้ลงทุนตรวจสอบได้ (๔) จัดให้มีทะเบียนผู้ลงทุนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่เลขาธิการกำหนด (๕) ดำเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๕๖ การจัดทำบัญชีเพื่อแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน การจัดทำงบการเงินและการแสดงความเห็นต่องบการเงินของผู้สอบบัญชี สำหรับกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ให้นำมาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ และมาตรา ๔๐ มาใช้บังคับ ส่วนที่ ๓ การพักใช้และเพิกถอนใบอนุญาต และการเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๕๗ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใด (๑) ขาดคุณสมบัติในการประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๒๗ (๑) (ก) และ (ค) (๒) (ก) และ (ค) และ (๓) (ก) และ (ข) (๒) ประกอบธุรกิจฝ่าฝืนหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๓๒ (๓) ไม่ดำรงฐานะทางการเงินตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนดตามมาตรา ๓๔ (๔) จัดทำบัญชีตามมาตรา ๓๗ หรืองบการเงินตามมาตรา ๓๘ ไม่เรียบร้อย หรือไม่ทำให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นแก้ไขหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ หรือปฏิบัติให้ถูกต้องสมบูรณ์ภายในเวลาที่กำหนด มาตรา ๕๘ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใดมีฐานะหรือมีการดำเนินงานในลักษณะอันอาจเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชน ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นดำเนินการแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานให้ถูกต้องหรือดำเนินการอื่นใดภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยจะกำหนดเงื่อนไขใด ๆ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นต้องปฏิบัติเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นด้วยก็ได้ มาตรา ๕๙ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๕๗ หรือมาตรา ๕๘ ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตของผู้นั้นไว้จนกว่าผู้นั้นจะปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการ มาตรา ๖๐ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ได้รับอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๕๗ หรือมาตรา ๕๘ ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจถอดถอนกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการดังกล่าว ออกจากตำแหน่ง และแต่งตั้งผู้อื่นซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ โดยความเห็นชอบของเลขาธิการ เป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้น ภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันถอดถอน ให้ถือว่าคำสั่งของเลขาธิการตามวรรคหนึ่งเป็นมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชน จำกัด แล้วแต่กรณี บุคคลซึ่งถูกถอดถอนจะเข้าไปเกี่ยวข้องหรือดำเนินการใด ๆ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่ตนถูกถอดถอนไม่ได้ และต้องอำนวยความสะดวกและให้ข้อเท็จจริงแก่บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งแทน มาตรา ๖๑ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดขาดคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๔๕ หรือจัดทำบัญชีแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินหรืองบการเงินตามมาตรา ๕๖ ไม่เรียบร้อยหรือไม่ทำให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้แก้ไขหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือปฏิบัติให้ถูกต้องสมบูรณ์ภายในเวลาที่กำหนด ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการตามวรรคหนึ่ง ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตของผู้นั้นไว้จนกว่าผู้นั้นจะปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการ มาตรา ๖๒ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดกระทำการหรืองดเว้นกระทำการจนอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า หรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๕๕ ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้านั้นแก้ไขการกระทำหรืองดเว้นการกระทำที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือเป็นการฝ่าฝืนหน้าที่ดังกล่าว ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการตามวรรคหนึ่ง ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตของผู้นั้น และสั่งเลิกธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๖๓ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ หรือมาตรา ๔๔ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนดเพิ่มเติมตามมาตรา ๒๘ ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นไว้จนกว่าผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นจะปฏิบัติตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๖๔ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใด ไม่แก้ไขหรือแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานตามคำสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๕๘ ไม่ได้ และเลขาธิการเห็นว่าฐานะหรือการดำเนินงานของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นจะเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ประโยชน์ของประชาชน ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้น มาตรา ๖๕ ในกรณีปรากฏหลักฐานต่อเลขาธิการว่าผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดต้องโทษหรือเคยต้องโทษตามคำพิพากษาถึงที่สุดในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ การภาษีอากร หรือการฉ้อโกงประชาชน ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตของผู้ประกอบธุรกิจนั้น มาตรา ๖๖ ในกรณีที่เลขาธิการสั่งพักใช้ใบอนุญาต ให้เลขาธิการมีอำนาจกำหนดเงื่อนไขให้ผู้ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตปฏิบัติเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าที่ยังค้างอยู่ในขณะถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต มาตรา ๖๗ ในกรณีที่เลขาธิการสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ให้ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามมาตรา ๖๙ วรรคสอง มาตรา ๖๘ ในการสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตตามส่วนนี้ ให้เลขาธิการแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าทราบ และให้ปิดประกาศหนังสือแจ้งการพักใช้หรือเพิกถอนดังกล่าวไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ให้เลขาธิการแจ้งการสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ค้าล่วงหน้าหรือนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ตลาดทราบเพื่อดำเนินการต่อไป มาตรา ๖๙ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามประเภทที่ได้รับอนุญาต ให้ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าต่อเลขาธิการ เพื่อพิทักษ์ประโยชน์ของประชาชนหรือเพื่อคุ้มครองลูกค้าหรือผู้ลงทุน ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการซื้อขายล่วงหน้า การชำระราคา และการรับมอบหรือส่งมอบสินค้าเกษตร ที่ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าซึ่งยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจต้องปฏิบัติให้แล้วเสร็จก่อนที่เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจเช่นว่านั้น มาตรา ๗๐ กองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าย่อมเลิกด้วยเหตุ ดังต่อไปนี้ (๑) ครบกำหนดอายุของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือเป็นกรณีอันเป็นเหตุที่จะเลิกกิจการตามข้อบังคับของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า (๒) ที่ประชุมผู้ลงทุนมีมติตามข้อบังคับของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ให้เลิกประกอบกิจการซึ่งจะมีผลต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากเลขาธิการ (๓) ล้มละลาย (๔) เลขาธิการสั่งให้เลิกตามมาตรา ๖๒ วรรคสอง ให้กองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าที่เลิกกิจการตาม (๑) หรือ (๓) แจ้งให้เลขาธิการทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันมีเหตุที่ทำให้เลิก มาตรา ๗๑ ให้กองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าที่เลิกประกอบกิจการแล้วจัดให้มีการชำระบัญชีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด และเมื่อได้มีการชำระบัญชีเสร็จสิ้นแล้ว ให้ความเป็นนิติบุคคลของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้านั้นเป็นอันสิ้นสุดลง หมวด ๓ ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า ส่วนที่ ๑ การจัดตั้ง มาตรา ๗๒ ให้จัดตั้งตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทยขึ้นและให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการตลาด โดยทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการซื้อขายล่วงหน้า รวมถึงการดำเนินธุรกิจอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของตลาดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. กิจการของตลาดตามวรรคหนึ่งไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าชดเชย กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน และกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ตลาดไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น และรายได้ของตลาดไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน มาตรา ๗๓ ให้ตลาดมีอำนาจกระทำการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๗๒ และอำนาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) จัดให้ได้มา ถือกรรมสิทธิ์ มีทรัพยสิทธิต่าง ๆ ครอบครอง เช่าหรือให้เช่า เช่าซื้อหรือให้เช่าซื้อ โอนหรือรับโอนสิทธิการเช่าหรือสิทธิการเช่าซื้อ จำนองหรือรับจำนอง ขายหรือจำหน่ายด้วยวิธีอื่นใด ซึ่งสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ (๒) จัดระบบและวิธีการซื้อขายล่วงหน้า (๓) ดำเนินธุรกิจสำนักหักบัญชี และบริหารกองทุนพัฒนาตลาด (๔) ดำเนินธุรกิจการให้บริการด้านข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกับการซื้อขายล่วงหน้า หรือธุรกิจทำนองเดียวกัน (๕) กู้ ยืม ให้กู้หรือให้ยืมเงิน และลงทุนหาผลประโยชน์ (๖) กระทำการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ของตลาด มาตรา ๗๔ เงินและทรัพย์สินที่ตลาดได้มาจากการดำเนินงานของตลาด ให้ตลาดมีอำนาจนำไปใช้เป็นค่าใช้จ่ายประจำของตลาด จัดส่งเป็นเงินอุดหนุนให้แก่สำนักงานและเงินสมทบกองทุนพัฒนาตลาด รวมทั้งใช้เพื่อการพัฒนาตลาด เงินอุดหนุนสำนักงานและเงินสมทบกองทุนพัฒนาตลาดให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้ความเห็นชอบ มาตรา ๗๕ ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการตลาด หรือกิจการอันมีสภาพหรือลักษณะอย่างเดียวกัน นอกจากตลาดที่ได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๗๖ ห้ามมิให้ผู้ใดนอกจากตลาดใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อในธุรกิจว่า “ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า” หรือคำอื่นใดที่มีความหมายเช่นเดียวกัน ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า มาตรา ๗๗ ให้มีคณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “คณะกรรมการตลาด” ประกอบด้วยบุคคลซึ่งคณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งจำนวนห้าคน และบุคคลซึ่งสมาชิกเลือกตั้งอีกจำนวนห้าคน เป็นกรรมการ และผู้จัดการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง บุคคลซึ่งคณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งตามวรรคหนึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านกฎหมาย การพาณิชย์ การเงิน การเกษตร หรือธุรกิจการซื้อขายสินค้าล่วงหน้า ให้คณะกรรมการตลาดเลือกกรรมการตลาดคนใดคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่ผู้จัดการ เป็นประธานกรรมการ และแต่งตั้งพนักงานของตลาดคนใดคนหนึ่งเป็นเลขานุการ กรรมการตลาดจะเป็นกรรมการในคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ไม่ได้ มาตรา ๗๘ ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจและหน้าที่ควบคุมดูแลการดำเนินงานของตลาดและปฏิบัติการอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ อำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการตลาดตามวรรคหนึ่งให้รวมถึงการกำหนดระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคำสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) หลักเกณฑ์ในการกำหนด เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือยกเลิกสินค้าเกษตร (๒) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการซื้อหรือขายสินค้าเกษตร การรับมอบและการส่งมอบสินค้าเกษตร (๓) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการรับรองคลังสินค้าเพื่อให้เป็นสถานที่รับมอบและส่งมอบสินค้าเกษตรที่ซื้อขายในตลาด (๔) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการวางหรือรักษาเงินประกันการปรับฐานะบัญชี เงินประกัน รวมถึงอัตราเงินประกัน (๕) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการวางหรือรักษาเงินหรือหลักทรัพย์ของสมาชิก (๖) อัตราเปลี่ยนแปลงของราคาขึ้นลงสูงสุดของสินค้าเกษตรที่ทำการซื้อขายล่วงหน้าในแต่ละวัน (๗) ปริมาณซื้อหรือขายสินค้าเกษตรแต่ละชนิดของสมาชิกหรือลูกค้า (๘) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการห้ามซื้อหรือขายสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดชนิดหนึ่งในตลาดเป็นการชั่วคราว (๙) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเลือกตั้งกรรมการตลาด (๑๐) หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการจ่ายเงินสมทบและการบริหารกองทุนพัฒนาตลาด (๑๑) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเป็นสมาชิกของตลาด คุณสมบัติ จำนวน สิทธิและหน้าที่ การลงโทษ และการประชุมสมาชิก ตลอดจนการโอนและการพ้นจากสมาชิกภาพ (๑๒) อัตราค่าสมาชิก ค่าธรรมเนียม ค่าบำรุง และค่าบริการที่สมาชิกต้องจ่ายให้ตลาด (๑๓) เวลาทำการและวันหยุดทำการสำหรับการซื้อขายล่วงหน้า (๑๔) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเข้าไปตรวจสอบเอกสารและสมุดบัญชีของสมาชิก (๑๕) หลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน วินัย และการลงโทษพนักงานและลูกจ้างของตลาด ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน ค่าจ้างและเงินตอบแทนอื่น การร้องทุกข์ การสงเคราะห์และสวัสดิการ ระเบียบวิธีปฏิบัติงานของตลาด และการมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทนผู้จัดการ (๑๖) การอื่นใดที่จำเป็นต่อการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของตลาด การกำหนด แก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคำสั่งตาม (๑) (๔) (๕) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) และ (๑๖) ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. ก่อนจึงให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๗๙ กรรมการตลาดซึ่งสมาชิกเลือกตั้งต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นบุคคลล้มละลาย (๒) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๓) เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๔) เป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ ซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ เจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง พนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (๕) เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. มีมติให้ออกเนื่องจากกระทำความผิดต่อหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือบกพร่องต่อหน้าที่อย่างร้ายแรง มาตรา ๘๐ การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง การออกและการพ้นจากตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการห้ามเข้าร่วมพิจารณาของกรรมการตลาด ให้นำมาตรา ๖ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๘๑ ให้คณะกรรมการตลาดแต่งตั้งผู้จัดการ และกำหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของผู้จัดการ ให้ผู้จัดการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้ มาตรา ๘๒ ผู้จัดการต้อง (๑) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๗๙ (๒) มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับธุรกิจการซื้อขายสินค้าล่วงหน้าและสามารถปฏิบัติงานให้ตลาดได้เต็มเวลา มาตรา ๘๓ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ผู้จัดการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะกรรมการตลาดมีมติให้ออก (๔) มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๗๙ มติของคณะกรรมการตลาดที่ให้ผู้จัดการออกจากตำแหน่งตาม (๓) ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการตลาดทั้งหมด โดยไม่นับรวมผู้จัดการ มาตรา ๘๔ ผู้จัดการมีหน้าที่บริหารกิจการของตลาดให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือมติของคณะกรรมการตลาด และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของตลาด ในการบริหารกิจการ ผู้จัดการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการตลาด มาตรา ๘๕ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้จัดการเป็นผู้แทนของตลาด และเพื่อการนี้ ผู้จัดการจะมอบอำนาจให้พนักงานของตลาดคนใดคนหนึ่งกระทำการเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามระเบียบหรือข้อบังคับที่คณะกรรมการตลาดกำหนด มาตรา ๘๖ เมื่อตำแหน่งผู้จัดการว่างลงหรือผู้จัดการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะกรรมการตลาดแต่งตั้งกรรมการตลาดหรือพนักงานของตลาดคนใดคนหนึ่ง เป็นผู้ทำการแทนเป็นการชั่วคราวได้ ในการนี้ ให้ผู้ทำการแทนมีอำนาจและหน้าที่เช่นเดียวกับผู้จัดการ เว้นแต่อำนาจและหน้าที่ผู้จัดการในฐานะกรรมการตลาด มาตรา ๘๗ คณะกรรมการตลาดมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดอันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการตลาดแล้วรายงานต่อคณะกรรมการตลาด การประชุมของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้นำมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๘๘ ให้ประธานกรรมการตลาด กรรมการตลาด และอนุกรรมการได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด และให้ถือว่าประโยชน์ตอบแทนนั้นเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของตลาด ส่วนที่ ๓ สำนักหักบัญชี มาตรา ๘๙ ให้จัดตั้งสำนักหักบัญชีขึ้นในตลาดและให้มีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นศูนย์กลางในการหักบัญชีซื้อขาย การปรับฐานะบัญชีเงินประกันตามมูลค่าการซื้อขายล่วงหน้า การรับมอบและการส่งมอบสินค้าเกษตร รวมทั้งการจัดทำรายงานการซื้อขายล่วงหน้า (๒) เก็บและรักษาเงินประกัน หรือเงินหรือหลักทรัพย์ของสมาชิกที่วางไว้กับสำนักหักบัญชี (๓) ส่งเสริมและกำกับดูแลความมั่นคงทางการเงินของระบบการซื้อขายล่วงหน้า (๔) ปฏิบัติการอื่นใดที่จำเป็นต่อการดำเนินงานของสำนักหักบัญชี มาตรา ๙๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักหักบัญชี ให้สำนักหักบัญชีเป็นผู้รับผิดชอบในการซื้อขายระหว่างสมาชิก โดยเป็นผู้ซื้อให้กับสมาชิกผู้ขายและเป็นผู้ขายให้กับสมาชิกผู้ซื้อ มาตรา ๙๑ เพื่อความมั่นคงในการหักบัญชีซื้อขาย ให้สมาชิกวางเงินหรือหลักทรัพย์ไว้กับสำนักหักบัญชี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาที่คณะกรรมการตลาดกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๙๒ ในกรณีที่สมาชิกรายใดรายหนึ่งก่อให้เกิดความเสียหายในการซื้อขายล่วงหน้า ถ้าไม่มีเงินประกันที่วางไว้ตามมาตรา ๑๐๑ เพียงพอสำหรับชดใช้ความเสียหาย ให้ตลาดมีอำนาจนำเงินหรือหลักทรัพย์ที่วางไว้ตามมาตรา ๙๑ มาชดใช้ความเสียหายนั้นได้ มาตรา ๙๓ ในกรณีที่เงินหรือหลักทรัพย์ของสมาชิกที่วางไว้ตามมาตรา ๙๑ ไม่เพียงพอที่จะชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามมาตรา ๙๒ ให้ตลาดมีอำนาจนำเงินจากกองทุนพัฒนาตลาดมาชดใช้ความเสียหายตามภาระหนี้สินที่เหลืออยู่ได้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการตลาดกำหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. ส่วนที่ ๔ กองทุนพัฒนาตลาด มาตรา ๙๔ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นในตลาด เรียกว่า “กองทุนพัฒนาตลาด” มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความมั่นคงทางการเงินของตลาด และสร้างความเชื่อมั่นแก่สมาชิกและลูกค้า ตลอดจนพัฒนาการซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๙๕ กองทุนพัฒนาตลาดตามมาตรา ๙๔ ประกอบด้วย (๑) เงินที่ตลาดและสมาชิกจ่ายสมทบตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการตลาดกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. ตามมาตรา ๗๘ (๑๐) (๒) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ (๓) ดอกผลของเงินกองทุน (๔) เงินรายได้อื่น ๆ มาตรา ๙๖ การใช้จ่ายเงินกองทุนพัฒนาตลาดตามมาตรา ๙๔ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. โดยให้จ่ายได้เฉพาะในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) การทดรองจ่ายในกรณีที่สมาชิกก่อให้เกิดความเสียหายในการซื้อขายล่วงหน้า และเงินหรือหลักทรัพย์ที่วางไว้ตามมาตรา ๙๑ ไม่เพียงพอที่จะชดใช้ความเสียหาย (๒) ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการบริหารกองทุน (๓) ค่าใช้จ่ายในการติดตามหนี้สินและการฟ้องร้องบังคับคดีตามกฎหมาย (๔) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการศึกษาวิจัยเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาการซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๙๗ เงินกองทุนพัฒนาตลาดตามมาตรา ๙๔ ให้นำไปหาดอกผลได้ โดยการฝากธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่น หรือนำไปลงทุนตามที่คณะกรรมการตลาดให้ความเห็นชอบ มาตรา ๙๘ ในกรณีที่เห็นสมควรส่งเสริมกิจการของตลาด กระทรวงพาณิชย์อาจขอตั้งงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนให้กับตลาดก็ได้ หมวด ๔ การดำเนินงานของตลาด ส่วนที่ ๑ การซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิกและการดำเนินงาน มาตรา ๙๙ ในการดำเนินการซื้อขายล่วงหน้าในตลาด ให้สมาชิกปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๑๐๐ สินค้าเกษตรที่จะซื้อขายล่วงหน้าในตลาดให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการตลาดกำหนด การกำหนดสินค้าเกษตรตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับประเภท ชนิด คุณภาพ ปริมาณ รวมถึงระยะเวลาและสถานที่รับมอบและส่งมอบสินค้าเกษตรนั้น มาตรา ๑๐๑ ในการซื้อหรือขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรในตลาดแต่ละครั้งต้องมีการวางเงินประกันไว้กับสำนักหักบัญชีตามอัตราและวิธีการที่คณะกรรมการตลาดกำหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๑๐๒ เมื่อสิ้นสุดการซื้อขายแต่ละวัน ให้สำนักหักบัญชีหักบัญชีซื้อขาย และปรับฐานะบัญชีเงินประกันที่วางไว้กับสำนักหักบัญชีตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการตลาดกำหนด มาตรา ๑๐๓ การซื้อขายล่วงหน้าให้กระทำได้เฉพาะในเวลาทำการของตลาดเท่านั้น มาตรา ๑๐๔ ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อว่าการซื้อขายล่วงหน้าอยู่ในสภาพที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่การดำเนินงานของตลาดและสำนักหักบัญชี ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจดังต่อไปนี้ (๑) ห้ามการซื้อขายสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดชนิดหนึ่งในตลาดเป็นการชั่วคราว โดยกำหนดระยะเวลาตามที่เห็นสมควร (๒) ห้ามสมาชิกรายใดรายหนึ่งเข้าซื้อหรือขายสินค้าเกษตรในตลาดเป็นการชั่วคราว โดยกำหนดระยะเวลาตามที่เห็นสมควร (๓) จำหน่ายหรือเพิกถอนข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนดตามมาตรา ๗๘ (๒) (๔) สั่งให้สมาชิกกระทำการหรืองดเว้นกระทำการในเรื่องใด ๆ ตามความจำเป็น โดยจะกำหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขใด ๆ ให้สมาชิกต้องปฏิบัติก็ได้ คณะกรรมการตลาดอาจมอบอำนาจดังกล่าวข้างต้นให้ผู้จัดการเป็นผู้ปฏิบัติการแทนก็ได้ มาตรา ๑๐๕ ในกรณีที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. เห็นว่าการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่เศรษฐกิจของประเทศหรือประโยชน์ของประชาชนและคณะกรรมการตลาดยังมิได้ใช้อำนาจตามมาตรา ๑๐๔ ถ้ากรณีเป็นเรื่องจำเป็นรีบด่วนที่จะต้องดำเนินการทันที ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจสั่งการตามมาตรา ๑๐๔ ได้ มาตรา ๑๐๖ ในกรณีที่สมาชิกหรือลูกค้าของสมาชิกถูกฟ้องคดีล้มละลาย และศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ หรือตกเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่ง ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจดังต่อไปนี้ (๑) โอนข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าและบัญชีเงินประกันของลูกค้าของสมาชิกที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือตกเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่ง ให้สมาชิกรายอื่นรับไปดำเนินการต่อไป (๒) สั่งจำหน่ายหรือเพิกถอนข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิกหรือลูกค้าที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือตกเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่ง เงินประกัน เงินหรือหลักทรัพย์ของสมาชิกที่วางไว้กับตลาด หรือเงินประกันของลูกค้าที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือตกเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่ง มิให้ถือว่าเป็นทรัพย์สินอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ของสมาชิกหรือลูกค้าในคดีล้มละลาย และไม่อยู่ภายใต้การยึดหรืออายัดในคดีแพ่งจนกว่าการดำเนินการตามคำสั่งของคณะกรรมการตลาดตามวรรคหนึ่งเสร็จสิ้นแล้ว ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจกำหนดค่าใช้จ่ายให้แก่สมาชิกผู้รับดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ตามจำนวนที่เห็นสมควร มาตรา ๑๐๗ ในกรณีที่เกิดเหตุขัดข้องอันเนื่องมาแต่เครื่องอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบซื้อขายล่วงหน้า เป็นเหตุให้ไม่อาจซื้อขายล่วงหน้าได้ตามปกติ หรือเหตุอื่นที่คณะกรรมการตลาดกำหนด ให้ผู้จัดการมีอำนาจสั่งหยุดการซื้อขายสินค้าเกษตรทั้งหมดเป็นการชั่วคราวได้ แต่ต้องรายงานเหตุดังกล่าวโดยละเอียดต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. และคณะกรรมการตลาดในทันที ส่วนที่ ๒ การจัดทำและการสอบบัญชี มาตรา ๑๐๘ ให้คณะกรรมการตลาดจัดทำบัญชีเพื่อแสดงผลการดำเนินงาน และฐานะการเงินที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริงและงบการเงิน โดยให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดโดยสถาบันวิชาชีพที่หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นชอบ และรายงานบัญชีและงบการเงินดังกล่าวต่อที่ประชุมสมาชิกของตลาดและคณะกรรมการ ก.ส.ล. ทุกรอบระยะสามเดือน โดยให้เสนอภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันครบรอบระยะสามเดือน ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทำบัญชีและงบการเงินตามวรรคหนึ่งเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร บัญชีและงบการเงินตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรองทุกรอบระยะหกเดือน มาตรา ๑๐๙ ให้ที่ประชุมสมาชิกของตลาดแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบุคคลซึ่งคณะกรรมการตลาดเสนอ และให้ผู้สอบบัญชีซึ่งได้รับแต่งตั้งได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่ที่ประชุมสมาชิกของตลาดกำหนด ผู้สอบบัญชีตามวรรคหนึ่งต้องเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชี และต้องไม่เป็นกรรมการตลาด ผู้จัดการ พนักงาน หรือลูกจ้างของตลาด มาตรา ๑๑๐ ให้ผู้สอบบัญชีมีอำนาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานของตลาดและขอคำชี้แจงจากกรรมการตลาด ผู้จัดการ พนักงาน หรือลูกจ้างของตลาดได้ มาตรา ๑๑๑ ให้สมาชิกจัดส่งสำเนาบัญชีแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน และงบการเงินที่จัดทำตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ให้คณะกรรมการตลาดเพื่อนำมาประกอบการควบคุมการซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิก เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิก ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจเรียกให้สมาชิกรายงานหรือส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมในกรณีที่คณะกรรมการตลาดเห็นว่าบัญชีและงบการเงินที่สมาชิกส่งสำเนามาให้ตามวรรคหนึ่งยังมีข้อมูลที่จะต้องตรวจสอบเพิ่มเติม หรือสั่งให้สมาชิก กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของสมาชิกยื่นรายงานหรือเอกสารตามระยะเวลาหรือเป็นครั้งคราว รวมถึงให้ทำคำชี้แจงหรืออธิบายเพื่อขยายความแห่งรายงานหรือเอกสารดังกล่าวได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการตลาดกำหนด รายงานและเอกสารที่จัดส่งตามวรรคสอง สมาชิกต้องทำให้ครบถ้วนและตรงต่อความเป็นจริง มาตรา ๑๑๒ ให้ตลาดหรือบุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตลาดมีอำนาจเปิดเผยข้อมูลของสมาชิกของตลาดให้ประชาชนทั่วไปทราบ เพื่อคุ้มครองประโยชน์หรือส่วนได้เสียของประชาชน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนด มาตรา ๑๑๓ ให้ตลาดเผยแพร่บัญชีแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน รวมทั้งงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีรับรองว่าถูกต้องแล้ว ให้ประชาชนทั่วไปทราบทุกรอบระยะหกเดือน ส่วนที่ ๓ การชี้ขาดข้อพิพาท มาตรา ๑๑๔ ในกรณีมีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการซื้อขายล่วงหน้าระหว่างสมาชิกด้วยกันเอง หรือระหว่างสมาชิกกับลูกค้า คู่พิพาทอาจยื่นคำร้องต่อสำนักงานหรือตลาดเพื่อขอให้มีการชี้ขาดข้อพิพาทโดยเลขาธิการหรืออนุญาโตตุลาการ แล้วแต่กรณี ก็ได้ การชี้ขาดของเลขาธิการหรืออนุญาโตตุลาการให้เป็นที่สุด มาตรา ๑๑๕ คำร้องตามมาตรา ๑๑๔ ให้เป็นไปตามแบบที่เลขาธิการกำหนด และอย่างน้อยต้องระบุรายละเอียด ดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อและที่อยู่ของคู่พิพาท (๒) ประเด็นข้อพิพาท (๓) เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง มาตรา ๑๑๖ การพิจารณาและชี้ขาดข้อพิพาทของเลขาธิการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๑๑๗ ในกรณีที่คู่พิพาทร้องขอให้มีการชี้ขาดข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ ให้อนุญาโตตุลาการประกอบด้วยบุคคลซึ่งคณะกรรมการตลาดแต่งตั้งหนึ่งคนเป็นประธาน และบุคคลซึ่งคู่พิพาทแต่งตั้งอีกฝ่ายละหนึ่งคน ทั้งนี้ โดยให้พิจารณาแต่งตั้งจากบัญชีรายชื่ออนุญาโตตุลาการที่คณะกรรมการตลาดขึ้นทะเบียนไว้ ให้นำกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการมาใช้บังคับกับการพิจารณาและชี้ขาดข้อพิพาทของอนุญาโตตุลาการตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม หมวด ๕ การควบคุมดูแล มาตรา ๑๑๘ ห้ามมิให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้ากระทำการดังต่อไปนี้ (๑) ซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด หรือเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๒) ซื้อหรือขายสินค้าเกษตรให้แก่ลูกค้า โดยไม่มีคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายจากลูกค้า (๓) รับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายสินค้าเกษตรจากลูกค้านอกสถานที่ทำการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่คณะกรรมการ ก.ส.ล. จะกำหนดเป็นอย่างอื่น (๔) โฆษณากิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่การโฆษณานั้นจะได้กระทำตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เลขาธิการกำหนด มาตรา ๑๑๙ ห้ามมิให้ผู้ใดซื้อขายล่วงหน้าหรือเสนอที่จะซื้อขายล่วงหน้า หรือกระทำการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายล่วงหน้า ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมจนอาจทำให้ผู้อื่นเข้าใจว่าสินค้าเกษตรที่ซื้อขายมีราคาสูงขึ้น ลดลง คงที่ หรือผันผวนอันไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์อันถือเป็นข้อพิจารณาเกี่ยวกับสภาพปกติของตลาด มาตรา ๑๒๐ ห้ามมิให้ผู้ใดซื้อขายล่วงหน้าหรือเสนอที่จะซื้อขายล่วงหน้าหรือกระทำการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายล่วงหน้าไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในประการที่น่าจะเป็นการเอาเปรียบผู้อื่นโดยอาศัยข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อประชาชนและตนได้ล่วงรู้มาเพราะการดำรงตำแหน่งหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ในการซื้อขายล่วงหน้านั้น หรือได้ล่วงรู้มาเพราะได้รับมาจากบุคคลดังกล่าวข้างต้น และไม่ว่าการกระทำดังกล่าวจะกระทำเพื่อประโยชน์ตนเองหรือผู้อื่น หรือนำข้อเท็จจริงเช่นนั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ผู้อื่นกระทำโดยตนได้รับประโยชน์ตอบแทน มาตรา ๑๒๑ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำด้วยประการใด ๆ ที่น่าจะทำให้ผู้อื่นหลงผิดว่าได้มีการซื้อหรือขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดกันมาก หรือราคาของสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดนั้นได้เปลี่ยนแปลงหรือไม่เปลี่ยนแปลงอันไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด มาตรา ๑๒๒ ห้ามมิให้ผู้ใดบอกกล่าวหรือแพร่ข้อความที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตร หรือการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดอันเป็นเท็จ หรือบอกกล่าวหรือแพร่ข้อความอื่นใดที่อาจก่อให้เกิดความสำคัญผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดต่อผู้อื่น โดยการกระทำดังกล่าวน่าจะมีผลทำให้ราคาสินค้าเกษตรนั้นผิดไปจากสภาพปกติของตลาด หรือน่าจะทำให้ผู้อื่นทำการซื้อขายล่วงหน้า การกระทำตามวรรคหนึ่ง แม้ผู้บอกกล่าวหรือแพร่ข้อความจะมิได้กระทำโดยเจตนาแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดความจริง แต่หากกระทำโดยปราศจากความระมัดระวังตามวิสัยหรือพฤติการณ์ที่พึงมีตามสมควร หรือกระทำโดยละเลยที่จะพิจารณาความเป็นจริงของข้อความนั้น ให้ผู้บอกกล่าวหรือแพร่ข้อความนั้นมีความผิดตามวรรคหนึ่งด้วย มาตรา ๑๒๓ ห้ามมิให้ผู้ใดให้คำรับรองหรือคำคาดการณ์ที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตรหรือการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดต่อผู้อื่น ซึ่งคำรับรองหรือคำคาดการณ์นั้นเป็นเท็จหรืออาจก่อให้เกิดความสำคัญผิดในสาระสำคัญ โดยการกระทำดังกล่าวน่าจะทำให้ผู้อื่นทำการซื้อขายล่วงหน้า การกระทำตามวรรคหนึ่ง แม้ผู้ให้คำรับรองหรือคำคาดการณ์จะมิได้กระทำโดยเจตนาแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดความจริง แต่หากกระทำโดยปราศจากความระมัดระวังตามวิสัยหรือพฤติการณ์ที่พึงมีตามสมควร หรือกระทำโดยละเลยที่จะพิจารณาความเป็นจริงเกี่ยวกับสินค้าเกษตรหรือการซื้อขายล่วงหน้านั้น ให้ผู้ให้คำรับรองหรือคำคาดการณ์นั้นมีความผิดตามวรรคหนึ่งด้วย มาตรา ๑๒๔ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าหรือเป็นสำนักงานสาขาของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่เป็นบุคคลที่มีการแจ้งชื่อไว้ตามมาตรา ๓๑ หรือได้รับอนุญาตจากเลขาธิการตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๑๒๕ เพื่อป้องกันความเสียหายอันอาจเกิดแก่เศรษฐกิจของประเทศหรือประโยชน์ของประชาชน ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจ (๑) ห้ามการซื้อขายล่วงหน้าทั้งหมดในตลาดเป็นการชั่วคราว โดยกำหนดระยะเวลาตามที่เห็นสมควร (๒) สั่งให้คณะกรรมการตลาดหรือผู้จัดการกระทำการหรืองดเว้นกระทำการอื่นใดตามที่เห็นสมควร การดำเนินการตาม (๑) ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. ทำเป็นหนังสือและประกาศไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการของตลาด มาตรา ๑๒๖ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าที่สมาชิกสั่งซื้อหรือสั่งขายในขณะใดขณะหนึ่งว่า สมาชิกได้สั่งซื้อหรือสั่งขายไว้เพื่อตนเองหรือเพื่อลูกค้าหรือสมาชิกได้สั่งซื้อหรือสั่งขายไว้เพื่อลูกค้ารายใด ให้เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง ดังต่อไปนี้ (๑) ลูกค้าที่สั่งซื้อหรือขายก่อนให้ได้รับประโยชน์เป็นลำดับแรก (๒) ให้การซื้อขายของสมาชิกเพื่อลูกค้าอยู่ในลำดับก่อนการซื้อขายเพื่อตนเอง หมวด ๖ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ มาตรา ๑๒๗ ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์คณะหนึ่ง ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน โดยในจำนวนนั้นต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านกฎหมาย การพาณิชย์ การเงิน หรือมีประสบการณ์สูงด้านธุรกิจการซื้อขายสินค้าล่วงหน้า อย่างน้อยด้านละหนึ่งคน และอธิบดีกรมการค้าภายในเป็นกรรมการและเลขานุการ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์จะเป็นกรรมการในคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือคณะกรรมการตลาดไม่ได้ มาตรา ๑๒๘ การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตำแหน่ง การประชุม การห้ามเข้าร่วมพิจารณาและค่าตอบแทนของกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้นำมาตรา ๖ มาตรา ๘ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๔ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๒๙ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า สมาชิก หรือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการสั่งการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้ใดไม่เห็นด้วยกับคำสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๖ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๑ วรรคสอง มาตรา ๖๒ วรรคสอง มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕ และคำวินิจฉัยหรือคำสั่งของคณะกรรมการตลาดตามมาตรา ๑๐๔ (๑) (๒) และ (๓) ให้ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งของเลขาธิการ หรือคำวินิจฉัยหรือคำสั่งของคณะกรรมการตลาด แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์กำหนด การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่ง ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการหรือคำวินิจฉัยหรือคำสั่งของคณะกรรมการตลาด เว้นแต่คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์จำนวนสามในสี่ของจำนวนกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ทั้งหมดจะมีมติเป็นอย่างอื่น คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจดังต่อไปนี้ (๑) เข้าไปในสถานที่ประกอบธุรกิจหรือสถานที่ทำการของตลาดหรือผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือสถานที่ซึ่งรวบรวมหรือประมวลข้อมูลของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น เพื่อตรวจสอบกิจการ สินทรัพย์และหนี้สินของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (๒) ค้นสถานที่ใด ๆ ที่มีเหตุควรสงสัยว่ามีการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งมีอำนาจยึดหรืออายัดเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบหรือดำเนินคดี (๓) สั่งให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ผู้สอบบัญชีของตลาดและผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยคำหรือส่งเอกสาร หลักฐานอื่นเกี่ยวกับการดำเนินงาน สินทรัพย์ และหนี้สินของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและบุคคลข้างต้น เมื่อได้เข้าไปและลงมือทำการตรวจสอบตาม (๑) หรือ (๒) แล้ว ถ้ายังดำเนินการไม่เสร็จจะกระทำต่อไปในเวลากลางคืนหรือนอกเวลาทำการของสถานที่นั้นก็ได้ การใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม (๑) (๒) และ (๓) จะต้องเป็นการกระทำต่อผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องที่ดำเนินการตรวจสอบ และต้องได้รับความเห็นชอบจากเลขาธิการก่อน และในกรณีตาม (๓) พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องกำหนดระยะเวลาอันสมควรที่จะให้ผู้นั้นสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม (๑) พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องไม่กระทำการอันมีลักษณะเป็นการข่มขู่หรือเป็นการตรวจค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และต้องมีหนังสือบอกกล่าวแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวันทำการ และในกรณีตาม (๒) ถ้ามีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าหากเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ เอกสารหรือหลักฐานดังกล่าวจะถูกยักย้าย ซุกซ่อน ทำลาย หรือทำให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม ก็ให้ดำเนินการค้นและยึดหรืออายัดเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น มาตรา ๑๓๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องอำนวยความสะดวกตามสมควร มาตรา ๑๓๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๓๓ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เลขาธิการและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๔ ในกรณีที่ปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่า ผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีลักษณะอันอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชนจะทำการยักย้ายหรือจำหน่ายทรัพย์สินของตน ให้สำนักงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้นั้นหรือทรัพย์สินที่มีหลักฐานเชื่อได้ว่าเป็นของผู้นั้นไว้ได้ไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวัน เว้นแต่จะมีการฟ้องคดีผู้นั้นต่อศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง ในกรณีเช่นนี้ให้คำสั่งยึดหรืออายัดดังกล่าวยังมีผลต่อไปจนกว่าศาลจะมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น และในกรณีมีเหตุจำเป็นไม่สามารถฟ้องคดีได้ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน ศาลที่มีเขตอำนาจจะสั่งขยายระยะเวลาออกไปอีกตามคำขอของสำนักงานก็ได้ แต่จะขยายเวลาอีกเกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันไม่ได้ เมื่อสำนักงานมีคำสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินดังกล่าว การยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง และให้นำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่าผู้กระทำความผิดตามวรรคหนึ่งจะหลบหนีออกนอกราชอาณาจักร เมื่อสำนักงานร้องขอ ให้ศาลอาญามีอำนาจสั่งห้ามมิให้ผู้นั้นออกนอกราชอาณาจักรไว้ก่อนเป็นการชั่วคราวได้เป็นเวลาไม่เกินสิบห้าวัน จนกว่าศาลอาญาจะมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น หมวด ๘ บทกำหนดโทษ มาตรา ๑๓๕ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๖ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ มาตรา ๑๓๖ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๖ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๑๐๔ (๔) มาตรา ๑๑๑ หรือมาตรา ๑๑๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ฝ่าฝืนหรือที่ยังมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง ในกรณีที่การกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการ การกระทำหรือไม่กระทำการอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทำของกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการนั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๓๗ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๕๕ หรือมาตรา ๕๖ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ฝ่าฝืนหรือที่ยังมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง มาตรา ๑๓๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๓๙ ผู้ดูแลผลประโยชน์ผู้ใด กระทำการหรือไม่กระทำการอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทำตามมาตรา ๕๐ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ฝ่าฝืนหรือที่ยังมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง มาตรา ๑๔๐ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๔ และมาตรา ๗๕ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินห้าแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ มาตรา ๑๔๑ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗๖ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละสามพันบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ มาตรา ๑๔๒ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๑๙ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๑๒๐ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงห้าปี และปรับไม่เกินสองเท่าของผลประโยชน์ที่บุคคลนั้น ๆ ได้รับไว้ หรือพึงจะได้รับเพราะการฝ่าฝืนดังกล่าว แต่ทั้งนี้ค่าปรับดังกล่าวต้องไม่น้อยกว่าห้าแสนบาท มาตรา ๑๔๓ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๒๑ มาตรา ๑๒๒ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๑๒๓ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๔๔ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๒๒ วรรคสอง หรือมาตรา ๑๒๓ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๔๕ ผู้ใดให้ถ้อยคำหรือรายงานอันเป็นเท็จต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งทำหรืออาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน และปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท มาตรา ๑๔๖ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๓๐ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๔๗ ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๓๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๔๘ ผู้ใดถอน ทำให้เสียหาย ทำลาย หรือทำให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งตราหรือเครื่องหมายซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ประทับหรือหมายไว้ที่สิ่งใด ๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๓๐ หรือมาตรา ๑๓๔ เพื่อเป็นหลักฐานในการยึดหรืออายัดหรือรักษาสิ่งนั้น ๆ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินสามแสนบาท มาตรา ๑๔๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทำให้สูญหายหรือไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์สินหรือเอกสารใด ๆ อันพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ยึด อายัด รักษาไว้ หรือสั่งให้ส่งเพื่อเป็นพยานหลักฐานตามมาตรา ๑๓๐ ไม่ว่าพนักงานเจ้าหน้าที่จะรักษาทรัพย์สินหรือเอกสารนั้นไว้เอง หรือสั่งให้ผู้นั้นหรือผู้อื่นส่งหรือรักษาไว้ก็ตาม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินสามแสนบาท มาตรา ๑๕๐ ผู้สอบบัญชีของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า สมาชิก หรือตลาดผู้ใดรับรองงบดุลหรือบัญชีอื่นใดให้ผิดไปจากความเป็นจริง หรือทำรายงานเท็จ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามเดือนถึงสามปี หรือปรับตั้งแต่สามหมื่นบาทถึงสามแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๕๑ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใด กระทำการหรือยินยอมให้บุคคลใดกระทำการ ดังต่อไปนี้ (๑) ทำให้เสียหาย ทำลาย เปลี่ยนแปลง ตัดทอน หรือปลอมบัญชีเอกสาร หรือหลักประกันของผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าว หรือที่เกี่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าว (๒) ลงข้อความเท็จหรือไม่ลงข้อความสำคัญในบัญชีหรือเอกสารของผู้ประกอบธุรกิจหรือที่เกี่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจนั้น หรือ (๓) ทำบัญชีไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ไม่เป็นปัจจุบัน หรือไม่ตรงต่อความเป็นจริง ถ้าได้กระทำหรือยินยอมให้กระทำเพื่อลวงให้ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวหรือผู้ถือหุ้นขาดประโยชน์อันควรได้ หรือลวงบุคคลใด ๆ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๒ พนักงาน ลูกจ้าง หรือตัวแทนของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าโดยทุจริตหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จแก่ลูกค้าหรือโดยการปกปิดความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งแก่ลูกค้า และโดยการหลอกลวงดังว่านั้น ได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากลูกค้าผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทำให้ลูกค้าหรือบุคคลที่สามทำ ถอน หรือทำลายเอกสารสิทธิ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๓ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งได้รับมอบหมายให้จัดการทรัพย์สินของผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย กระทำผิดหน้าที่ของตนด้วยประการใด ๆ โดยทุจริต จนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สินของผู้ประกอบธุรกิจนั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๔ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งครอบครองทรัพย์ที่เป็นของผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าว หรือที่ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย เบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตน หรือบุคคลที่สามโดยทุจริต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๕ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใด เอาไปเสีย ทำให้เสียหาย ทำลาย ทำให้เสื่อมค่า หรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์สินที่ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวมีหน้าที่ดูแลหรือที่อยู่ในความครอบครองของผู้ประกอบธุรกิจนั้น ถ้าได้กระทำเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินห้าแสนบาท มาตรา ๑๕๖ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใด กระทำการหรือไม่กระทำการเพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อตนเองหรือผู้อื่นอันเป็นการเสียหายแก่ผู้ประกอบธุรกิจนั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๗ ผู้ใดก่อให้กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจซื้อขายล่วงหน้า หรือผู้สอบบัญชี กระทำความผิดตามที่บัญญัติในมาตรา ๑๕๐ มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๒ มาตรา ๑๕๓ มาตรา ๑๕๔ มาตรา ๑๕๕ หรือมาตรา ๑๕๖ ไม่ว่าด้วยการใช้ สั่ง ขู่เข็ญ จ้าง หรือด้วยวิธีอื่นใด ต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้น ๆ มาตรา ๑๕๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการที่กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือผู้สอบบัญชี กระทำความผิดตามที่บัญญัติในมาตรา ๑๕๐ มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๒ มาตรา ๑๕๓ มาตรา ๑๕๔ มาตรา ๑๕๕ หรือมาตรา ๑๕๖ ไม่ว่าก่อนหรือขณะกระทำความผิด ต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้น ๆ เว้นแต่ผู้นั้นมิได้รู้ถึงการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนั้น มาตรา ๑๕๙ ผู้ใดล่วงรู้กิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เนื่องจากการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้อันเป็นกิจการที่ตามปกติวิสัยจะพึงสงวนไว้ไม่เปิดเผย ถ้าผู้นั้นนำไปแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือเปิดเผยแก่บุคคลอื่น อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ลูกค้าหรือผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือตลาด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ความในวรรคหนึ่งมิให้นำมาใช้บังคับแก่การเปิดเผยในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) การเปิดเผยตามหน้าที่ (๒) การเปิดเผยเพื่อประโยชน์แก่การสอบสวนหรือการพิจารณาคดี (๓) การเปิดเผยเกี่ยวกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) การเปิดเผยเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๕) การเปิดเผยแก่ผู้สอบบัญชีของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัตินี้ (๖) การเปิดเผยแก่ทางการ ตลาดหรือหน่วยงานที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๗) การเปิดเผยเมื่อได้รับความเห็นชอบจากบุคคลดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษร มาตรา ๑๖๐ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับ หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปีและปรับ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบความผิดที่รัฐมนตรีแต่งตั้งมีอำนาจเปรียบเทียบได้ คณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้มีจำนวนสามคน ซึ่งคนหนึ่งต้องเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้ทำการเปรียบเทียบกรณีใด และผู้ต้องหาได้ชำระค่าปรับตามคำเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกำหนดแล้ว ให้คดีนั้นเป็นอันเลิกกัน บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๖๑ ให้กระทรวงพาณิชย์ได้รับเงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร และกองทุนส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ เพื่อให้สำนักงานนำไปใช้จ่ายและดำเนินการจัดตั้งตลาด รวมทั้งเป็นเงินอุดหนุนกองทุนพัฒนาตลาด มาตรา ๑๖๒ ภายในระยะเวลาสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มิให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๙ (๔) มาใช้บังคับแก่การดำรงตำแหน่งของเลขาธิการ มาตรา ๑๖๓ ภายในระยะเวลาสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้คณะกรรมการตลาดประกอบด้วยกรรมการซึ่งคณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งจำนวนสิบเอ็ดคน โดยให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ผู้จัดการในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว มาตรา ๑๖๔ บุคคลใดดำเนินกิจการตลาดหรือกิจการอันมีลักษณะหรือสภาพอย่างเดียวกันอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้บุคคลนั้นเลิกประกอบกิจการดังกล่าวภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และภายในระยะเวลาดังกล่าวมิให้นำมาตรา ๗๕ มาบังคับใช้แก่บุคคลนั้น มาตรา ๑๖๕ บุคคลใดใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อในธุรกิจว่า “ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า” หรือคำอื่นใดที่มีความหมายเช่นเดียวกัน อยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้บุคคลนั้นเลิกใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อดังกล่าวภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และภายในระยะเวลาดังกล่าวมิให้นำมาตรา ๗๖ มาบังคับใช้แก่บุคคลนั้น ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ราคาสินค้าเกษตรขาดเสถียรภาพก่อให้เกิดปัญหาความเสี่ยงแก่เกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรและผู้ส่งออก และประกอบกับตลาดสินค้าเกษตรที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้ ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเสถียรภาพของราคาสินค้าเกษตรในระยะยาวและเพื่อส่งเสริมพัฒนาการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เห็นสมควรจัดตั้งตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้เกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตร และผู้ส่งออกสามารถเข้าไปทำการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรในตลาดที่มีกฎและหลักเกณฑ์การซื้อขายล่วงหน้าที่แน่นอน รวมถึงมีมาตรการในการซื้อขายล่วงหน้าที่ก่อให้เกิดความเป็นธรรมและคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนและลูกค้า และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอันจะช่วยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรในอนาคต และสามารถวางแผนการผลิตและการค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดได้ สมควรมีกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐[๔] มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ให้ความคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคบรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับความคุ้มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แต่บทบัญญัติมาตรา ๒๗ และมาตรา ๓๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นบทบัญญัติที่เลือกปฏิบัติ โดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ทั้งยังเป็นบทบัญญัติที่ปิดกั้นโอกาสของผู้เคยถูกจำคุกที่จะกลับตัวเป็นคนดีและประกอบการงานโดยสุจริตเกินความจำเป็น สมควรแก้ไขบทบัญญัติดังกล่าวให้สอดคล้องกับหลักการห้ามมิให้เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ที่เคยได้รับความคุ้มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเพื่อให้บุคคลผู้เคยถูกจำคุกมีโอกาสกลับคืนสู่สังคมและประกอบการงานสุจริตได้ เว้นแต่ผู้เคยถูกจำคุกเกี่ยวกับทรัพย์ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อังศุมาลี/ผู้จัดทำ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ อุดมลักษณ์/ผู้ตรวจ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๙๘ ก/หน้า ๔/๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๒ [๒] มาตรา ๒๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ [๓] มาตรา ๓๕ (๒) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ [๔] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๒ ก/หน้า ๗/๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐
543527
พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ การซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๗ ในการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ให้เลขาธิการตรวจสอบหลักฐานของผู้ขออนุญาตในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นผู้ค้าล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (ข) กรรมการของผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (ค) ผู้ขออนุญาตมีพนักงานซึ่งสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว ตามจำนวนที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๒) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (ข) กรรมการของผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (ค) ผู้ขออนุญาตมีพนักงานซึ่งสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว ตามจำนวนที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๓) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตมีประสบการณ์เกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า และมีความรู้ความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเกี่ยวกับสินค้าเกษตร (ข) ในกรณีผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคล จะต้องมีบุคลากรที่มีคุณสมบัติตาม (ก) และคุณสมบัติอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๔) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตมีความประพฤติดี และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (ข) ผู้ขออนุญาตสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๒) เคยถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์” ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ให้ความคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์สิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคบรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับความคุ้มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แต่บทบัญญัติมาตรา ๒๗ และมาตรา ๓๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นบทบัญญัติที่เลือกปฏิบัติ โดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคมทั้งยังเป็นบทบัญญัติที่ปิดกั้นโอกาสของผู้เคยถูกจำคุกที่จะกลับตัวเป็นคนดีและประกอบการงานโดยสุจริตเกินความจำเป็น สมควรแก้ไขบทบัญญัติดังกล่าวให้สอดคล้องกับหลักการห้ามมิให้เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ที่เคยได้รับความคุ้มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเพื่อให้บุคคลผู้เคยถูกจำคุกมีโอกาสกลับคืนสู่สังคมและประกอบการงานสุจริตได้ เว้นแต่ผู้เคยถูกจำคุกเกี่ยวกับทรัพย์ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๐ วศิน/แก้ไข ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๒ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๒ ก/หน้า ๗/๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐
310544
พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ การซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒” มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “สินค้าเกษตร” หมายความว่า ผลิตผลทางเกษตรกรรมและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปผลิตผลทางเกษตรกรรม ซึ่งคณะกรรมการตลาดกำหนดให้มีการซื้อขายล่วงหน้า “การซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า การซื้อขายสินค้าเกษตรโดยวิธีการประมูลโดยเปิดเผยในตลาดเพื่อรับมอบหรือส่งมอบสินค้าเกษตรนั้นในวันข้างหน้าตามปริมาณและราคาที่ตกลงกันตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนด “ข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า คำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายสินค้าเกษตร ซึ่งผู้ซื้อหรือผู้ขายส่งเข้าตลาด และได้รับการยืนยันการซื้อขายเกี่ยวกับปริมาณ ราคา ระยะเวลารับมอบหรือส่งมอบสินค้าเกษตรนั้นจากตลาดแล้ว “ธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า (๑) การเป็นผู้ค้าล่วงหน้า (๒) การเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๓) การเป็นที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า (๔) การเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (๕) การเป็นผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า (๖) การประกอบธุรกิจอื่นที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตรตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด “ผู้ค้าล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้ทำการซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเอง “นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้จัดหาและรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้า “ที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้ประกอบธุรกิจให้คำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ผู้ซึ่งประสงค์จะซื้อขายล่วงหน้าในตลาด “ตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้เป็นตัวแทนของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ในการจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้า “ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้บริหารและจัดการธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า “ธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า (๑) การจัดการเงินทุนส่วนบุคคล โดยการจัดการเงินทุนให้แก่บุคคลแต่ละราย ตั้งแต่ห้ารายขึ้นไป หรือคณะบุคคลตั้งแต่หนึ่งคณะ เพื่อแสวงหาประโยชน์จากการซื้อขายล่วงหน้า (๒) การจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า โดยการระดมทุนจากบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อแสวงหาประโยชน์จากการซื้อขายล่วงหน้า “สมาชิก” หมายความว่า ผู้ค้าล่วงหน้าและนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการตลาดให้ซื้อขายล่วงหน้าในตลาด “ลูกค้า” หมายความว่า ผู้ซื้อหรือผู้ขายซึ่งทำการซื้อขายล่วงหน้าในตลาดโดยผ่านนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า “เงินประกัน” หมายความว่า เงินและทรัพย์สินที่วางไว้เพื่อเป็นหลักประกันการซื้อขายล่วงหน้า “ผู้จัดการ” หมายความว่า ผู้จัดการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงและแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ การกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับธุรกิจการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจำนวนห้าคนเป็นกรรมการ โดยในจำนวนนี้อย่างน้อยต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ด้านการพาณิชย์ ด้านการเงิน หรือด้านการเกษตรด้านละหนึ่งคน และเลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ กรรมการ ก.ส.ล. จะเป็นกรรมการในคณะกรรมการตลาดหรือคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ไม่ได้ มาตรา ๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งต้องไม่เป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง มาตรา ๗ ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจและหน้าที่วางนโยบายการส่งเสริมและพัฒนาตลอดจนกำกับดูแลการซื้อขายล่วงหน้า การประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่องกับการซื้อขายล่วงหน้า และให้มีอำนาจและหน้าที่ดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือข้อกำหนดตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๓) กำหนดค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๔) ให้ความเห็นชอบจำนวนเงินอุดหนุนและเงินสมทบที่ตลาดจัดสรรให้สำนักงานและกองทุนพัฒนาตลาดตามมาตรา ๗๔ วรรคสอง (๕) ให้ความเห็นชอบระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกโดยคณะกรรมการตลาดตามมาตรา ๗๘ (๑) (๔) (๕) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) และ (๑๖) (๖) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการพิจารณาและชี้ขาดข้อพิพาทของเลขาธิการตามมาตรา ๑๑๖ (๗) สั่งห้ามการซื้อขายล่วงหน้า หรือสั่งให้คณะกรรมการตลาดหรือผู้จัดการกระทำการหรืองดเว้นกระทำการตามมาตรา ๑๒๕ (๘) สั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือตลาดชี้แจงข้อเท็จจริง ทำรายงาน ตลอดจนมีอำนาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า (๙) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการ (๑๐) ออกระเบียบ คำสั่ง และข้อบังคับเกี่ยวกับการพนักงาน ระบบพนักงานสัมพันธ์ การบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน วินัย และการลงโทษพนักงานและลูกจ้างของสำนักงาน การกำหนดอัตราเงินเดือนและเงินตอบแทนอื่น การสงเคราะห์และสวัสดิการ และการมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทนเลขาธิการ (๑๑) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งให้มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี เมื่อครบกำหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง ให้ดำเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ภายในหกสิบวัน ในระหว่างที่ยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อดำเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ มาตรา ๙ เมื่อครบสองปีนับแต่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ก.ส.ล. ครั้งแรก ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจำนวนสามคนออกจากตำแหน่งโดยวิธีจับสลาก และให้ถือว่าการออกจากตำแหน่งโดยการจับสลากเป็นการออกตามวาระ มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตำแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะปฏิบัติหน้าที่บกพร่องอย่างร้ายแรง (๔) เป็นบุคคลล้มละลาย (๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๖) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๖ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ คณะรัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทนอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งตนแทน มาตรา ๑๑ การประชุมของคณะกรรมการ ก.ส.ล. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม มติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๑๒ กรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสียใด ๆ ในเรื่องที่พิจารณา ห้ามมิให้เข้าร่วมพิจารณาในเรื่องนั้น มาตรา ๑๓ คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดอันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ แล้วรายงานต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. การประชุมของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้นำมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๔ ให้ประธานกรรมการ ก.ส.ล. กรรมการ ก.ส.ล. และอนุกรรมการได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่รัฐมนตรีกำหนด และให้ถือว่าประโยชน์ตอบแทนนั้นเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของสำนักงาน ส่วนที่ ๒ สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า มาตรา ๑๕ ให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าขึ้น และให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล กิจการของสำนักงานตามวรรคหนึ่งไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าชดเชย กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน และกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ สำนักงานไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น และรายได้ของสำนักงานไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน มาตรา ๑๖ ให้สำนักงานมีสำนักงานแห่งใหญ่ในกรุงเทพมหานครหรือในจังหวัดอื่นที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๑๗ ให้สำนักงานมีอำนาจและหน้าที่ปฏิบัติการเพื่อให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการ ก.ส.ล. และอำนาจและหน้าที่เช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) ปฏิบัติหน้าที่ด้านธุรการของคณะกรรมการ ก.ส.ล. และคณะอนุกรรมการ (๒) ถือกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพย์สินต่าง ๆ สร้าง ซื้อ จัดหา ขาย จำหน่าย เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ ยืม ให้ยืม รับจำนำ รับจำนอง แลกเปลี่ยน โอน รับโอนหรือดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน ทั้งในและนอกราชอาณาจักร ตลอดจนรับทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ (๓) กู้ ยืม ให้กู้หรือให้ยืมเงิน และลงทุนหาผลประโยชน์ (๔) กำหนดค่าบริการในการดำเนินงานของสำนักงาน (๕) รับค่าธรรมเนียมตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๖) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานหรือตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. มอบหมาย ทั้งนี้ เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจการของสำนักงาน มาตรา ๑๘ ให้คณะรัฐมนตรีโดยคำแนะนำของรัฐมนตรีแต่งตั้งเลขาธิการ ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ มาตรา ๑๙ เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (๓) มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และสามารถปฏิบัติงานให้สำนักงานได้เต็มเวลา (๔) ไม่เป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ รวมทั้งพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (๕) ไม่ดำรงตำแหน่งหรือมีหน้าที่หรือมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๖) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (๗) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๘) ไม่เคยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๒๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ เลขาธิการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีมีมติให้ออกตามข้อเสนอของคณะกรรมการ ก.ส.ล. เนื่องจากกระทำความผิดต่อหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือบกพร่องต่อหน้าที่อย่างร้ายแรง (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑ ภายในระยะเวลาสามปีนับแต่พ้นจากตำแหน่ง เลขาธิการจะเป็นผู้ถือหุ้น เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจจัดการกิจการ หรือที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้ามิได้ มาตรา ๒๒ เลขาธิการมีอำนาจและหน้าที่ในการออกใบอนุญาตและควบคุมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และดำเนินกิจการของสำนักงานให้เป็นไปตามนโยบายและมติของคณะกรรมการ ก.ส.ล. รวมถึงระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคำสั่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของสำนักงาน ในการดำเนินกิจการ เลขาธิการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๒๓ ในกิจการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสำนักงานและเพื่อการนี้ เลขาธิการจะมอบอำนาจให้พนักงานของสำนักงานคนใดคนหนึ่งกระทำการเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๒๔ ให้สำนักงานจัดให้มีระบบบัญชีที่เหมาะสมกับกิจการของสำนักงาน และจัดให้มีการสอบบัญชีภายในเป็นประจำ มาตรา ๒๕ ให้สำนักงานจัดทำงบดุลและบัญชีรายได้รายจ่าย ส่งผู้สอบบัญชีภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีของทุกปี รอบระยะเวลาบัญชีปกติให้นับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม และสิ้นสุดลงในวันที่ ๓๑ ธันวาคมของทุกปี เฉพาะในปีแรกให้เริ่มนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและสิ้นสุดลงในวันที่ ๓๑ ธันวาคมของปีนั้น ให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีของสำนักงานทุกรอบปี แล้วทำรายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. หมวด ๒ ธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ส่วนที่ ๑ ผู้ค้าล่วงหน้า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า ตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า และผู้ประกอบธุรกิจอื่น มาตรา ๒๖ ผู้ใดจะประกอบธุรกิจเป็นผู้ค้าล่วงหน้า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า ตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า และผู้ประกอบธุรกิจอื่นตามที่คณะกรรมการก.ส.ล. กำหนด ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ การขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ในการออกใบอนุญาต เลขาธิการจะกำหนดเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจไว้ด้วยก็ได้ มาตรา ๒๗ ในการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ให้เลขาธิการตรวจสอบหลักฐานของผู้ขออนุญาตในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นผู้ค้าล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและมีฐานะทางการเงินมั่นคง (ข) กรรมการของผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ และมีฐานะทางการเงินมั่นคง (ค) ผู้ขออนุญาตมีพนักงานซึ่งสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว ตามจำนวนที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๒) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและมีฐานะทางการเงินมั่นคง (ข) กรรมการของผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ และมีฐานะทางการเงินมั่นคง (ค) ผู้ขออนุญาตมีพนักงานซึ่งสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว ตามจำนวนที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๓) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตมีประสบการณ์เกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า และมีความรู้ความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเกี่ยวกับสินค้าเกษตร (ข) ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคล จะต้องมีบุคลากรที่มีคุณสมบัติตาม (ก) และคุณสมบัติอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๔) ในกรณีเป็นการขออนุญาตเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ก) ผู้ขออนุญาตมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง มีความประพฤติดี และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (ข) ผู้ขออนุญาตสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว มาตรา ๒๘ ในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และเพื่อพิทักษ์ประโยชน์ของประชาชน ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจกำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมตามที่เห็นสมควรเพื่อให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ และมาตรา ๔๔ ปฏิบัติ เมื่อความจำเป็นตามวรรคหนึ่งหมดหรือเปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการ ก.ส.ล. อาจแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่กำหนดไว้นั้นได้ มาตรา ๒๙ ผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ถือว่าได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ค้าล่วงหน้าด้วย มาตรา ๓๐ ในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าทำสัญญาเป็นหนังสือกับลูกค้าเพื่อทำการซื้อขายล่วงหน้าแทนลูกค้า โดยมีรายละเอียดอันเป็นสาระสำคัญแห่งสัญญาเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่คู่สัญญาตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามอัตราที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๑ ตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าจะดำเนินการจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าได้ เมื่อมีการแจ้งชื่อตัวแทนซื้อขายล่วงหน้านั้นต่อเลขาธิการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เลขาธิการกำหนด ให้เลขาธิการแจ้งชื่อตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าตามวรรคหนึ่งให้ตลาดทราบ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิก มาตรา ๓๒ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ต้องประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๓ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ อาจมีสำนักงานสาขา หรือย้ายสำนักงานแห่งใหญ่ สำนักงานสาขาหรือสถานที่ทำการได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ การขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๔ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ต้องดำรงฐานะทางการเงินตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๕ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นบุคคลล้มละลาย (๒) เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๓) เคยเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๔) เคยเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ (๕) เคยถูกถอดถอนจากการเป็นประธานกรรมการ กรรมการ หรือผู้จัดการของสถาบันการเงินใด เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๖) เคยถูกถอดถอนตามมาตรา ๖๐ (๗) เป็นบุคคลซึ่งไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน หรือคุณสมบัติตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๘) ลักษณะต้องห้ามอย่างอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๖ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ จะแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ได้รับอนุญาตได้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากเลขาธิการ ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่าบุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ ให้เลขาธิการมีอำนาจเพิกถอนความเห็นชอบที่ให้ไว้แล้วได้ และให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ เสนอชื่อบุคคลอื่นแทนเพื่อขอความเห็นชอบจากเลขาธิการภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่เลขาธิการสั่งเพิกถอนความเห็นชอบ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการซึ่งถูกเพิกถอนความเห็นชอบตามวรรคสองจะดำเนินการหรือเข้าไปเกี่ยวข้องไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่ตนถูกเพิกถอนความเห็นชอบไม่ได้ และต้องอำนวยความสะดวกและให้ข้อเท็จจริงแก่บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งแทน มาตรา ๓๗ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ จัดทำบัญชีเพื่อแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริง โดยให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดโดยสถาบันวิชาชีพที่หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นชอบ และข้อกำหนดเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๓๘ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ จัดทำงบการเงินตามแบบ วิธีการ และภายในระยะเวลาที่เลขาธิการกำหนด งบการเงินตามวรรคหนึ่งต้องมีการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชี และผู้สอบบัญชีดังกล่าวต้องมิใช่กรรมการ พนักงาน หรือลูกจ้างของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้น ผู้สอบบัญชีตามวรรคสองต้องเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชีและได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๓๙ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ จัดให้มีการเปิดเผยงบการเงินเพื่อให้ประชาชนตรวจดูได้ ณ สถานที่ทำการของผู้ประกอบธุรกิจนั้น และจัดส่งให้เลขาธิการภายในระยะเวลาที่เลขาธิการกำหนด มาตรา ๔๐ ผู้สอบบัญชีตามมาตรา ๓๘ ต้องรักษามรรยาทและปฏิบัติงานสอบบัญชีเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชีและข้อกำหนดเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ในกรณีที่ผู้สอบบัญชีตรวจพบว่าผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ได้ทำเอกสารประกอบการลงบัญชีหรือเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือไม่ครบถ้วน ให้ผู้สอบบัญชีเปิดเผยข้อเท็จจริงหรือความเห็นดังกล่าวพร้อมทั้งผลกระทบที่เป็นสาระสำคัญต่องบการเงินไว้ในรายงานการสอบบัญชีที่ตนจะต้องลงลายมือชื่อเพื่อแสดงความเห็น ผู้สอบบัญชีผู้ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล.มีอำนาจเพิกถอนการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีผู้นั้นได้ มาตรา ๔๑ เงินที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าได้รับจากลูกค้า มิให้ถือว่าเป็นทรัพย์สินของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือตัวแทนซื้อขายล่วงหน้านั้น มาตรา ๔๒ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าฝากเงินที่ได้รับจากลูกค้าเพื่อใช้ในการซื้อหรือขายล่วงหน้าไว้กับธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด โดยให้แยกบัญชีของลูกค้าแต่ละรายและบัญชีของนายหน้าหรือตัวแทนดังกล่าวออกจากกัน มาตรา ๔๓ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะจ่ายเงินจากบัญชีลูกค้าได้เฉพาะเพื่อการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้า หรือจ่ายตามคำสั่งของลูกค้าเจ้าของบัญชีเท่านั้น ส่วนที่ ๒ ธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๔๔ ผู้ใดจะประกอบธุรกิจเป็นผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ในการนี้คณะกรรมการ ก.ส.ล. จะกำหนดลักษณะการจัดการเงินทุนที่ไม่ต้องขอรับอนุญาตด้วยก็ได้ การขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ในการออกใบอนุญาต เลขาธิการจะกำหนดเงื่อนไขในการดำเนินธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าไว้ด้วยก็ได้ การจัดตั้งและการบริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าตามส่วนนี้ไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มาตรา ๔๕ ในการออกใบอนุญาตตามมาตรา ๔๔ ให้เลขาธิการตรวจสอบหลักฐานของผู้ขออนุญาตในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ผู้ขออนุญาตเป็นบุคคล หรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และมีฐานะทางการเงินมั่นคง (๒) ผู้ขออนุญาตซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ (๓) ประวัติและลักษณะการดำเนินธุรกิจที่ผ่านมาของผู้ขออนุญาตไม่มีข้อบกพร่องหรือขาดความรับผิดชอบหรือความรอบคอบในการบริหารงาน (๔) ความเชี่ยวชาญและความชำนาญในการซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๔๖ ในการรับจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๔๗ ในการจัดตั้งและจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าจะจัดตั้งและจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าได้ เมื่อคำขอจัดตั้งกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้านั้นได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๔๘ ในการยื่นคำขอจัดตั้งกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าตามมาตรา ๔๗ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องส่งเอกสารหลักฐานดังต่อไปนี้ด้วย (๑) โครงการและแผนงาน การจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าตามรายการที่เลขาธิการกำหนด (๒) ร่างข้อผูกพันระหว่างผู้ลงทุนกับผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งต้องไม่มีลักษณะอันไม่เป็นธรรมต่อผู้ลงทุน (๓) ร่างสัญญาจัดตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า มาตรา ๔๙ ข้อผูกพันระหว่างผู้ลงทุนกับผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าตามมาตรา ๔๘ (๒) อย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้ (๑) อำนาจและหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า (๒) การแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า รวมทั้งเงื่อนไขการเปลี่ยนตัว และค่าตอบแทน (๓) อัตราและวิธีการจ่ายค่าตอบแทนและบำเหน็จในการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า (๔) สิทธิของผู้ลงทุน (๕) การเลิกกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ข้อผูกพันตามวรรคหนึ่ง ต้องไม่มีข้อจำกัดความรับผิดของผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า และผู้ดูแลผลประโยชน์ที่มีลักษณะอันไม่เป็นธรรมต่อผู้ลงทุน ข้อความในข้อผูกพันหรือในสัญญาใดที่มีลักษณะที่ขัดบทบัญญัติตามวรรคสองให้ตกเป็นโมฆะ มาตรา ๕๐ ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ต้องมีคุณสมบัติและให้มีอำนาจหน้าที่ตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้ามีสิทธิฟ้องร้องบังคับคดี เพื่อประโยชน์ของผู้ลงทุนทั้งปวงหรือตามคำสั่งของเลขาธิการ เมื่อมีการกระทำการหรืองดเว้นการกระทำการจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ในกรณีที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า กระทำการ งดเว้นกระทำการหรือละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง จนก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ให้ผู้ลงทุนหรือสำนักงานมีสิทธิร้องทุกข์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือฟ้องร้องบังคับคดีแพ่งคดีอาญา หรือคดีใด ๆ กับผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนดังกล่าว เพื่อประโยชน์ของผู้ลงทุนทั้งปวงได้ ในกรณีที่มีการร้องทุกข์ และพนักงานอัยการยื่นฟ้องคดีอาญา ให้พนักงานอัยการมีอำนาจเรียกทรัพย์สินหรือราคา หรือค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแทนผู้ได้รับความเสียหายด้วย ในการนี้ ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช้บังคับโดยอนุโลม ค่าใช้จ่ายในการฟ้องร้องบังคับคดีตามมาตรานี้เพื่อประโยชน์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าใดให้เรียกร้องได้จากทรัพย์สินของกองทุนนั้น มาตรา ๕๑ การระดมทุน โดยการชี้ชวนหรือชักชวนประชาชนหรือบุคคลใด ๆ ให้นำเงินมาลงทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ให้ถือเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทหุ้น และให้อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการออกหลักทรัพย์ของบริษัทและการเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน มาตรา ๕๒ ทุนที่ระดมได้ตามโครงการของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าใด ให้รวมเข้าเป็นสินทรัพย์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้านั้น และให้จดทะเบียนกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าดังกล่าวกับเลขาธิการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่เลขาธิการกำหนด กองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าเมื่อได้จดทะเบียนตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล มาตรา ๕๓ ในการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการตามโครงการและแผนงานการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าที่เสนอต่อเลขาธิการตามมาตรา ๔๘ (๑) การแก้ไขหรือเพิ่มเติมโครงการและแผนงานการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือการแก้ไขวิธีจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ต้องกระทำตามมติเสียงข้างมากของผู้ลงทุนซึ่งได้ลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดที่ได้ลงไว้ และแจ้งต่อเลขาธิการภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีมติให้แก้ไข ให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าแจ้งการแก้ไขหรือเพิ่มเติมโครงการและแผนงานการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือการแก้ไขวิธีการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าไปยังผู้ลงทุนทุกคน และประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีมติให้แก้ไขหรือเพิ่มเติม มาตรา ๕๔ ในการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ห้ามมิให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้ากระทำการ ดังต่อไปนี้ (๑) นำสินทรัพย์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าไปรวมกับทรัพย์สินของตนหรือของบุคคลอื่น (๒) นำสินทรัพย์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าไปลงทุนในธุรกิจอื่นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. ทั้งนี้ หากมีการนำไปลงทุนในหลักทรัพย์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด โดยการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังกล่าวให้เป็นการพิจารณาร่วมกันระหว่างคณะกรรมการ ก.ส.ล. และคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (๓) กู้ยืมเงินในนามของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่สินทรัพย์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๔) ให้การรับรองแก่ผู้ลงทุนว่าจะมีกำไรในอัตราที่แน่นอน หรือสัญญาว่าจะไม่มีผลขาดทุนในอัตราที่กำหนดไว้โดยแน่นอน (๕) กระทำการใด ๆ อันมีลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์แก่ผู้ลงทุนตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๖) กิจการอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๕๕ ในการจัดการกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้ามีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดทำและรายงานงบดุลการเงิน บัญชีรายรับรายจ่าย การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ให้ผู้ลงทุนและเลขาธิการทราบ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๒) จัดทำรายงานประจำปีให้แก่ผู้ลงทุนและเลขาธิการภายในเก้าสิบวันนับจากวันสิ้นปีบัญชีตามแบบที่เลขาธิการกำหนด (๓) จัดทำและจัดเก็บข้อมูลรายงานการซื้อขายสินค้าเกษตรแต่ละชนิดในแต่ละวันให้ถูกต้องและเป็นระเบียบเก็บไว้ที่สำนักงานแห่งใหญ่ และต้องอนุญาตให้ผู้ลงทุนตรวจสอบได้ (๔) จัดให้มีทะเบียนผู้ลงทุนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่เลขาธิการกำหนด (๕) ดำเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๕๖ การจัดทำบัญชีเพื่อแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน การจัดทำงบการเงินและการแสดงความเห็นต่องบการเงินของผู้สอบบัญชี สำหรับกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ให้นำมาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ และมาตรา ๔๐ มาใช้บังคับ ส่วนที่ ๓ การพักใช้และเพิกถอนใบอนุญาต และการเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๕๗ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใด (๑) ขาดคุณสมบัติในการประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๒๗ (๑) (ก) และ (ค) (๒) (ก) และ (ค) และ (๓) (ก) และ (ข) (๒) ประกอบธุรกิจฝ่าฝืนหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๓๒ (๓) ไม่ดำรงฐานะทางการเงินตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนดตามมาตรา ๓๔ (๔) จัดทำบัญชีตามมาตรา ๓๗ หรืองบการเงินตามมาตรา ๓๘ ไม่เรียบร้อย หรือไม่ทำให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นแก้ไขหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ หรือปฏิบัติให้ถูกต้องสมบูรณ์ภายในเวลาที่กำหนด มาตรา ๕๘ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใดมีฐานะหรือมีการดำเนินงานในลักษณะอันอาจเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชน ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นดำเนินการแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานให้ถูกต้องหรือดำเนินการอื่นใดภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยจะกำหนดเงื่อนไขใด ๆ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นต้องปฏิบัติเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นด้วยก็ได้ มาตรา ๕๙ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๕๗ หรือมาตรา ๕๘ ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตของผู้นั้นไว้จนกว่าผู้นั้นจะปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการ มาตรา ๖๐ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ได้รับอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๕๗ หรือมาตรา ๕๘ ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจถอดถอนกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการดังกล่าว ออกจากตำแหน่ง และแต่งตั้งผู้อื่นซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ โดยความเห็นชอบของเลขาธิการ เป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้น ภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันถอดถอน ให้ถือว่าคำสั่งของเลขาธิการตามวรรคหนึ่งเป็นมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชน จำกัด แล้วแต่กรณี บุคคลซึ่งถูกถอดถอนจะเข้าไปเกี่ยวข้องหรือดำเนินการใด ๆ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่ตนถูกถอดถอนไม่ได้ และต้องอำนวยความสะดวกและให้ข้อเท็จจริงแก่บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งแทน มาตรา ๖๑ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดขาดคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๔๕ หรือจัดทำบัญชีแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินหรืองบการเงินตามมาตรา ๕๖ ไม่เรียบร้อยหรือไม่ทำให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้แก้ไขหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือปฏิบัติให้ถูกต้องสมบูรณ์ภายในเวลาที่กำหนด ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการตามวรรคหนึ่ง ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตของผู้นั้นไว้จนกว่าผู้นั้นจะปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการ มาตรา ๖๒ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดกระทำการหรืองดเว้นกระทำการจนอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า หรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๕๕ ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้านั้นแก้ไขการกระทำหรืองดเว้นการกระทำที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือเป็นการฝ่าฝืนหน้าที่ดังกล่าว ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการตามวรรคหนึ่ง ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตของผู้นั้น และสั่งเลิกธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๖๓ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ หรือมาตรา ๔๔ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนดเพิ่มเติมตามมาตรา ๒๘ ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นไว้จนกว่าผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นจะปฏิบัติตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๖๔ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๒๖ ผู้ใด ไม่แก้ไขหรือแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานตามคำสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๕๘ ไม่ได้ และเลขาธิการเห็นว่าฐานะหรือการดำเนินงานของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้นจะเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ประโยชน์ของประชาชน ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนั้น มาตรา ๖๕ ในกรณีปรากฏหลักฐานต่อเลขาธิการว่าผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดต้องโทษหรือเคยต้องโทษตามคำพิพากษาถึงที่สุดในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ การภาษีอากร หรือการฉ้อโกงประชาชน ให้เลขาธิการมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตของผู้ประกอบธุรกิจนั้น มาตรา ๖๖ ในกรณีที่เลขาธิการสั่งพักใช้ใบอนุญาต ให้เลขาธิการมีอำนาจกำหนดเงื่อนไขให้ผู้ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตปฏิบัติเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าที่ยังค้างอยู่ในขณะถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต มาตรา ๖๗ ในกรณีที่เลขาธิการสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ให้ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามมาตรา ๖๙ วรรคสอง มาตรา ๖๘ ในการสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตตามส่วนนี้ ให้เลขาธิการแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าทราบ และให้ปิดประกาศหนังสือแจ้งการพักใช้หรือเพิกถอนดังกล่าวไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ให้เลขาธิการแจ้งการสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ค้าล่วงหน้าหรือนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ตลาดทราบเพื่อดำเนินการต่อไป มาตรา ๖๙ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามประเภทที่ได้รับอนุญาต ให้ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าต่อเลขาธิการ เพื่อพิทักษ์ประโยชน์ของประชาชนหรือเพื่อคุ้มครองลูกค้าหรือผู้ลงทุน ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการซื้อขายล่วงหน้า การชำระราคา และการรับมอบหรือส่งมอบสินค้าเกษตร ที่ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าซึ่งยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจต้องปฏิบัติให้แล้วเสร็จก่อนที่เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจเช่นว่านั้น มาตรา ๗๐ กองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าย่อมเลิกด้วยเหตุ ดังต่อไปนี้ (๑) ครบกำหนดอายุของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือเป็นกรณีอันเป็นเหตุที่จะเลิกกิจการตามข้อบังคับของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า (๒) ที่ประชุมผู้ลงทุนมีมติตามข้อบังคับของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้า ให้เลิกประกอบกิจการซึ่งจะมีผลต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากเลขาธิการ (๓) ล้มละลาย (๔) เลขาธิการสั่งให้เลิกตามมาตรา ๖๒ วรรคสอง ให้กองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าที่เลิกกิจการตาม (๑) หรือ (๓) แจ้งให้เลขาธิการทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันมีเหตุที่ทำให้เลิก มาตรา ๗๑ ให้กองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้าที่เลิกประกอบกิจการแล้วจัดให้มีการชำระบัญชีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด และเมื่อได้มีการชำระบัญชีเสร็จสิ้นแล้ว ให้ความเป็นนิติบุคคลของกองทุนสินค้าเกษตรล่วงหน้านั้นเป็นอันสิ้นสุดลง หมวด ๓ ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า ส่วนที่ ๑ การจัดตั้ง มาตรา ๗๒ ให้จัดตั้งตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทยขึ้นและให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการตลาด โดยทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการซื้อขายล่วงหน้า รวมถึงการดำเนินธุรกิจอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของตลาดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. กิจการของตลาดตามวรรคหนึ่งไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าชดเชย กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน และกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ตลาดไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น และรายได้ของตลาดไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน มาตรา ๗๓ ให้ตลาดมีอำนาจกระทำการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๗๒ และอำนาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) จัดให้ได้มา ถือกรรมสิทธิ์ มีทรัพยสิทธิต่าง ๆ ครอบครอง เช่าหรือให้เช่า เช่าซื้อหรือให้เช่าซื้อ โอนหรือรับโอนสิทธิการเช่าหรือสิทธิการเช่าซื้อ จำนองหรือรับจำนอง ขายหรือจำหน่ายด้วยวิธีอื่นใด ซึ่งสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ (๒) จัดระบบและวิธีการซื้อขายล่วงหน้า (๓) ดำเนินธุรกิจสำนักหักบัญชี และบริหารกองทุนพัฒนาตลาด (๔) ดำเนินธุรกิจการให้บริการด้านข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกับการซื้อขายล่วงหน้า หรือธุรกิจทำนองเดียวกัน (๕) กู้ ยืม ให้กู้หรือให้ยืมเงิน และลงทุนหาผลประโยชน์ (๖) กระทำการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ของตลาด มาตรา ๗๔ เงินและทรัพย์สินที่ตลาดได้มาจากการดำเนินงานของตลาด ให้ตลาดมีอำนาจนำไปใช้เป็นค่าใช้จ่ายประจำของตลาด จัดส่งเป็นเงินอุดหนุนให้แก่สำนักงานและเงินสมทบกองทุนพัฒนาตลาด รวมทั้งใช้เพื่อการพัฒนาตลาด เงินอุดหนุนสำนักงานและเงินสมทบกองทุนพัฒนาตลาดให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้ความเห็นชอบ มาตรา ๗๕ ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการตลาด หรือกิจการอันมีสภาพหรือลักษณะอย่างเดียวกัน นอกจากตลาดที่ได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๗๖ ห้ามมิให้ผู้ใดนอกจากตลาดใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อในธุรกิจว่า “ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า” หรือคำอื่นใดที่มีความหมายเช่นเดียวกัน ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า มาตรา ๗๗ ให้มีคณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “คณะกรรมการตลาด” ประกอบด้วยบุคคลซึ่งคณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งจำนวนห้าคน และบุคคลซึ่งสมาชิกเลือกตั้งอีกจำนวนห้าคน เป็นกรรมการ และผู้จัดการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง บุคคลซึ่งคณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งตามวรรคหนึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านกฎหมาย การพาณิชย์ การเงิน การเกษตร หรือธุรกิจการซื้อขายสินค้าล่วงหน้า ให้คณะกรรมการตลาดเลือกกรรมการตลาดคนใดคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่ผู้จัดการ เป็นประธานกรรมการ และแต่งตั้งพนักงานของตลาดคนใดคนหนึ่งเป็นเลขานุการ กรรมการตลาดจะเป็นกรรมการในคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ไม่ได้ มาตรา ๗๘ ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจและหน้าที่ควบคุมดูแลการดำเนินงานของตลาดและปฏิบัติการอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ อำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการตลาดตามวรรคหนึ่งให้รวมถึงการกำหนดระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคำสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) หลักเกณฑ์ในการกำหนด เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือยกเลิกสินค้าเกษตร (๒) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการซื้อหรือขายสินค้าเกษตร การรับมอบและการส่งมอบสินค้าเกษตร (๓) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการรับรองคลังสินค้าเพื่อให้เป็นสถานที่รับมอบและส่งมอบสินค้าเกษตรที่ซื้อขายในตลาด (๔) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการวางหรือรักษาเงินประกันการปรับฐานะบัญชี เงินประกัน รวมถึงอัตราเงินประกัน (๕) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการวางหรือรักษาเงินหรือหลักทรัพย์ของสมาชิก (๖) อัตราเปลี่ยนแปลงของราคาขึ้นลงสูงสุดของสินค้าเกษตรที่ทำการซื้อขายล่วงหน้าในแต่ละวัน (๗) ปริมาณซื้อหรือขายสินค้าเกษตรแต่ละชนิดของสมาชิกหรือลูกค้า (๘) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการห้ามซื้อหรือขายสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดชนิดหนึ่งในตลาดเป็นการชั่วคราว (๙) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเลือกตั้งกรรมการตลาด (๑๐) หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการจ่ายเงินสมทบและการบริหารกองทุนพัฒนาตลาด (๑๑) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเป็นสมาชิกของตลาด คุณสมบัติ จำนวน สิทธิและหน้าที่ การลงโทษ และการประชุมสมาชิก ตลอดจนการโอนและการพ้นจากสมาชิกภาพ (๑๒) อัตราค่าสมาชิก ค่าธรรมเนียม ค่าบำรุง และค่าบริการที่สมาชิกต้องจ่ายให้ตลาด (๑๓) เวลาทำการและวันหยุดทำการสำหรับการซื้อขายล่วงหน้า (๑๔) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเข้าไปตรวจสอบเอกสารและสมุดบัญชีของสมาชิก (๑๕) หลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน วินัย และการลงโทษพนักงานและลูกจ้างของตลาด ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน ค่าจ้างและเงินตอบแทนอื่น การร้องทุกข์ การสงเคราะห์และสวัสดิการ ระเบียบวิธีปฏิบัติงานของตลาด และการมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทนผู้จัดการ (๑๖) การอื่นใดที่จำเป็นต่อการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของตลาด การกำหนด แก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคำสั่งตาม(๑) (๔) (๕) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) และ (๑๖) ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. ก่อนจึงให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๗๙ กรรมการตลาดซึ่งสมาชิกเลือกตั้งต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (๑) เป็นบุคคลล้มละลาย (๒) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๓) เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๔) เป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ ซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ เจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง พนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (๕) เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. มีมติให้ออกเนื่องจากกระทำความผิดต่อหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือบกพร่องต่อหน้าที่อย่างร้ายแรง มาตรา ๘๐ การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง การออกและการพ้นจากตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการห้ามเข้าร่วมพิจารณาของกรรมการตลาดให้นำมาตรา ๖ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๘๑ ให้คณะกรรมการตลาดแต่งตั้งผู้จัดการ และกำหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของผู้จัดการ ให้ผู้จัดการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้ มาตรา ๘๒ ผู้จัดการต้อง (๑) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๗๙ (๒) มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับธุรกิจการซื้อขายสินค้าล่วงหน้าและสามารถปฏิบัติงานให้ตลาดได้เต็มเวลา มาตรา ๘๓ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ผู้จัดการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะกรรมการตลาดมีมติให้ออก (๔) มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๗๙ มติของคณะกรรมการตลาดที่ให้ผู้จัดการออกจากตำแหน่งตาม (๓) ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการตลาดทั้งหมด โดยไม่นับรวมผู้จัดการ มาตรา ๘๔ ผู้จัดการมีหน้าที่บริหารกิจการของตลาดให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือมติของคณะกรรมการตลาด และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของตลาด ในการบริหารกิจการ ผู้จัดการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการตลาด มาตรา ๘๕ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้จัดการเป็นผู้แทนของตลาด และเพื่อการนี้ผู้จัดการจะมอบอำนาจให้พนักงานของตลาดคนใดคนหนึ่งกระทำการเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามระเบียบหรือข้อบังคับที่คณะกรรมการตลาดกำหนด มาตรา ๘๖ เมื่อตำแหน่งผู้จัดการว่างลงหรือผู้จัดการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะกรรมการตลาดแต่งตั้งกรรมการตลาดหรือพนักงานของตลาดคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ทำการแทนเป็นการชั่วคราวได้ ในการนี้ ให้ผู้ทำการแทนมีอำนาจและหน้าที่เช่นเดียวกับผู้จัดการ เว้นแต่อำนาจและหน้าที่ผู้จัดการในฐานะกรรมการตลาด มาตรา ๘๗ คณะกรรมการตลาดมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดอันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการตลาดแล้วรายงานต่อคณะกรรมการตลาด การประชุมของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้นำมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๘๘ ให้ประธานกรรมการตลาด กรรมการตลาด และอนุกรรมการได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด และให้ถือว่าประโยชน์ตอบแทนนั้นเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของตลาด ส่วนที่ ๓ สำนักหักบัญชี มาตรา ๘๙ ให้จัดตั้งสำนักหักบัญชีขึ้นในตลาดและให้มีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นศูนย์กลางในการหักบัญชีซื้อขาย การปรับฐานะบัญชีเงินประกันตามมูลค่าการซื้อขายล่วงหน้า การรับมอบและการส่งมอบสินค้าเกษตร รวมทั้งการจัดทำรายงานการซื้อขายล่วงหน้า (๒) เก็บและรักษาเงินประกัน หรือเงินหรือหลักทรัพย์ของสมาชิกที่วางไว้กับสำนักหักบัญชี (๓) ส่งเสริมและกำกับดูแลความมั่นคงทางการเงินของระบบการซื้อขายล่วงหน้า (๔) ปฏิบัติการอื่นใดที่จำเป็นต่อการดำเนินงานของสำนักหักบัญชี มาตรา ๙๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักหักบัญชี ให้สำนักหักบัญชีเป็นผู้รับผิดชอบในการซื้อขายระหว่างสมาชิก โดยเป็นผู้ซื้อให้กับสมาชิกผู้ขายและเป็นผู้ขายให้กับสมาชิกผู้ซื้อ มาตรา ๙๑ เพื่อความมั่นคงในการหักบัญชีซื้อขาย ให้สมาชิกวางเงินหรือหลักทรัพย์ไว้กับสำนักหักบัญชี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาที่คณะกรรมการตลาดกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๙๒ ในกรณีที่สมาชิกรายใดรายหนึ่งก่อให้เกิดความเสียหายในการซื้อขายล่วงหน้าถ้าไม่มีเงินประกันที่วางไว้ตามมาตรา ๑๐๑ เพียงพอสำหรับชดใช้ความเสียหาย ให้ตลาดมีอำนาจนำเงินหรือหลักทรัพย์ที่วางไว้ตามมาตรา ๙๑ มาชดใช้ความเสียหายนั้นได้ มาตรา ๙๓ ในกรณีที่เงินหรือหลักทรัพย์ของสมาชิกที่วางไว้ตามมาตรา ๙๑ ไม่เพียงพอที่จะชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามมาตรา ๙๒ ให้ตลาดมีอำนาจนำเงินจากกองทุนพัฒนาตลาดมาชดใช้ความเสียหายตามภาระหนี้สินที่เหลืออยู่ได้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการตลาดกำหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. ส่วนที่ ๔ กองทุนพัฒนาตลาด มาตรา ๙๔ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นในตลาด เรียกว่า “กองทุนพัฒนาตลาด” มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความมั่นคงทางการเงินของตลาด และสร้างความเชื่อมั่นแก่สมาชิกและลูกค้า ตลอดจนพัฒนาการซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๙๕ กองทุนพัฒนาตลาดตามมาตรา ๙๔ ประกอบด้วย (๑) เงินที่ตลาดและสมาชิกจ่ายสมทบตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการตลาดกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. ตามมาตรา ๗๘ (๑๐) (๒) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ (๓) ดอกผลของเงินกองทุน (๔) เงินรายได้อื่น ๆ มาตรา ๙๖ การใช้จ่ายเงินกองทุนพัฒนาตลาดตามมาตรา ๙๔ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. โดยให้จ่ายได้เฉพาะในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) การทดรองจ่ายในกรณีที่สมาชิกก่อให้เกิดความเสียหายในการซื้อขายล่วงหน้า และเงินหรือหลักทรัพย์ที่วางไว้ตามมาตรา ๙๑ ไม่เพียงพอที่จะชดใช้ความเสียหาย (๒) ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการบริหารกองทุน (๓) ค่าใช้จ่ายในการติดตามหนี้สินและการฟ้องร้องบังคับคดีตามกฎหมาย (๔) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการศึกษาวิจัยเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาการซื้อขายล่วงหน้า มาตรา ๙๗ เงินกองทุนพัฒนาตลาดตามมาตรา ๙๔ ให้นำไปหาดอกผลได้ โดยการฝากธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่น หรือนำไปลงทุนตามที่คณะกรรมการตลาดให้ความเห็นชอบ มาตรา ๙๘ ในกรณีที่เห็นสมควรส่งเสริมกิจการของตลาด กระทรวงพาณิชย์อาจขอตั้งงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนให้กับตลาดก็ได้ หมวด ๔ การดำเนินงานของตลาด ส่วนที่ ๑ การซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิกและการดำเนินงาน มาตรา ๙๙ ในการดำเนินการซื้อขายล่วงหน้าในตลาด ให้สมาชิกปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๑๐๐ สินค้าเกษตรที่จะซื้อขายล่วงหน้าในตลาดให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการตลาดกำหนด การกำหนดสินค้าเกษตรตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับประเภท ชนิด คุณภาพ ปริมาณ รวมถึงระยะเวลาและสถานที่รับมอบและส่งมอบสินค้าเกษตรนั้น มาตรา ๑๐๑ ในการซื้อหรือขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรในตลาดแต่ละครั้งต้องมีการวางเงินประกันไว้กับสำนักหักบัญชีตามอัตราและวิธีการที่คณะกรรมการตลาดกำหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มาตรา ๑๐๒ เมื่อสิ้นสุดการซื้อขายแต่ละวัน ให้สำนักหักบัญชีหักบัญชีซื้อขาย และปรับฐานะบัญชีเงินประกันที่วางไว้กับสำนักหักบัญชีตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการตลาดกำหนด มาตรา ๑๐๓ การซื้อขายล่วงหน้าให้กระทำได้เฉพาะในเวลาทำการของตลาดเท่านั้น มาตรา ๑๐๔ ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อว่าการซื้อขายล่วงหน้าอยู่ในสภาพที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่การดำเนินงานของตลาดและสำนักหักบัญชี ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจดังต่อไปนี้ (๑) ห้ามการซื้อขายสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดชนิดหนึ่งในตลาดเป็นการชั่วคราวโดยกำหนดระยะเวลาตามที่เห็นสมควร (๒) ห้ามสมาชิกรายใดรายหนึ่งเข้าซื้อหรือขายสินค้าเกษตรในตลาดเป็นการชั่วคราว โดยกำหนดระยะเวลาตามที่เห็นสมควร (๓) จำหน่ายหรือเพิกถอนข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนดตามมาตรา ๗๘ (๒) (๔) สั่งให้สมาชิกกระทำการหรืองดเว้นกระทำการในเรื่องใด ๆ ตามความจำเป็นโดยจะกำหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขใด ๆ ให้สมาชิกต้องปฏิบัติก็ได้ คณะกรรมการตลาดอาจมอบอำนาจดังกล่าวข้างต้นให้ผู้จัดการเป็นผู้ปฏิบัติการแทนก็ได้ มาตรา ๑๐๕ ในกรณีที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. เห็นว่าการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่เศรษฐกิจของประเทศหรือประโยชน์ของประชาชนและคณะกรรมการตลาดยังมิได้ใช้อำนาจตามมาตรา ๑๐๔ ถ้ากรณีเป็นเรื่องจำเป็นรีบด่วนที่จะต้องดำเนินการทันที ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจสั่งการตามมาตรา ๑๐๔ ได้ มาตรา ๑๐๖ ในกรณีที่สมาชิกหรือลูกค้าของสมาชิกถูกฟ้องคดีล้มละลาย และศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ หรือตกเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่ง ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจดังต่อไปนี้ (๑) โอนข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าและบัญชีเงินประกันของลูกค้าของสมาชิกที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือตกเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่งให้สมาชิกรายอื่นรับไปดำเนินการต่อไป (๒) สั่งจำหน่ายหรือเพิกถอนข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิกหรือลูกค้าที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือตกเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่ง เงินประกัน เงินหรือหลักทรัพย์ของสมาชิกที่วางไว้กับตลาด หรือเงินประกันของลูกค้าที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือตกเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่ง มิให้ถือว่าเป็นทรัพย์สินอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ของสมาชิกหรือลูกค้าในคดีล้มละลาย และไม่อยู่ภายใต้การยึดหรืออายัดในคดีแพ่งจนกว่าการดำเนินการตามคำสั่งของคณะกรรมการตลาดตามวรรคหนึ่งเสร็จสิ้นแล้ว ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจกำหนดค่าใช้จ่ายให้แก่สมาชิกผู้รับดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ตามจำนวนที่เห็นสมควร มาตรา ๑๐๗ ในกรณีที่เกิดเหตุขัดข้องอันเนื่องมาแต่เครื่องอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบซื้อขายล่วงหน้าเป็นเหตุให้ไม่อาจซื้อขายล่วงหน้าได้ตามปกติ หรือเหตุอื่นที่คณะกรรมการตลาดกำหนด ให้ผู้จัดการมีอำนาจสั่งหยุดการซื้อขายสินค้าเกษตรทั้งหมดเป็นการชั่วคราวได้ แต่ต้องรายงานเหตุดังกล่าวโดยละเอียดต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. และคณะกรรมการตลาดในทันที ส่วนที่ ๒ การจัดทำและการสอบบัญชี มาตรา ๑๐๘ ให้คณะกรรมการตลาดจัดทำบัญชีเพื่อแสดงผลการดำเนินงาน และฐานะการเงินที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริงและงบการเงิน โดยให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดโดยสถาบันวิชาชีพที่หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นชอบ และรายงานบัญชีและงบการเงินดังกล่าวต่อที่ประชุมสมาชิกของตลาดและคณะกรรมการ ก.ส.ล. ทุกรอบระยะสามเดือน โดยให้เสนอภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันครบรอบระยะสามเดือน ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทำบัญชีและงบการเงินตามวรรคหนึ่งเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร บัญชีและงบการเงินตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรองทุกรอบระยะหกเดือน มาตรา ๑๐๙ ให้ที่ประชุมสมาชิกของตลาดแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบุคคลซึ่งคณะกรรมการตลาดเสนอ และให้ผู้สอบบัญชีซึ่งได้รับแต่งตั้งได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่ที่ประชุมสมาชิกของตลาดกำหนด ผู้สอบบัญชีตามวรรคหนึ่งต้องเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชี และต้องไม่เป็นกรรมการตลาด ผู้จัดการ พนักงาน หรือลูกจ้างของตลาด มาตรา ๑๑๐ ให้ผู้สอบบัญชีมีอำนาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานของตลาดและขอคำชี้แจงจากกรรมการตลาด ผู้จัดการ พนักงาน หรือลูกจ้างของตลาดได้ มาตรา ๑๑๑ ให้สมาชิกจัดส่งสำเนาบัญชีแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน และงบการเงินที่จัดทำตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ให้คณะกรรมการตลาดเพื่อนำมาประกอบการควบคุมการซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิก เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิก ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจเรียกให้สมาชิกรายงานหรือส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมในกรณีที่คณะกรรมการตลาดเห็นว่าบัญชีและงบการเงินที่สมาชิกส่งสำเนามาให้ตามวรรคหนึ่งยังมีข้อมูลที่จะต้องตรวจสอบเพิ่มเติม หรือสั่งให้สมาชิก กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของสมาชิกยื่นรายงานหรือเอกสารตามระยะเวลาหรือเป็นครั้งคราว รวมถึงให้ทำคำชี้แจงหรืออธิบายเพื่อขยายความแห่งรายงานหรือเอกสารดังกล่าวได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการตลาดกำหนด รายงานและเอกสารที่จัดส่งตามวรรคสอง สมาชิกต้องทำให้ครบถ้วนและตรงต่อความเป็นจริง มาตรา ๑๑๒ ให้ตลาดหรือบุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตลาดมีอำนาจเปิดเผยข้อมูลของสมาชิกของตลาดให้ประชาชนทั่วไปทราบ เพื่อคุ้มครองประโยชน์หรือส่วนได้เสียของประชาชน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาดกำหนด มาตรา ๑๑๓ ให้ตลาดเผยแพร่บัญชีแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน รวมทั้งงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีรับรองว่าถูกต้องแล้ว ให้ประชาชนทั่วไปทราบทุกรอบระยะหกเดือน ส่วนที่ ๓ การชี้ขาดข้อพิพาท มาตรา ๑๑๔ ในกรณีมีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการซื้อขายล่วงหน้าระหว่างสมาชิกด้วยกันเอง หรือระหว่างสมาชิกกับลูกค้า คู่พิพาทอาจยื่นคำร้องต่อสำนักงานหรือตลาดเพื่อขอให้มีการชี้ขาดข้อพิพาทโดยเลขาธิการหรืออนุญาโตตุลาการ แล้วแต่กรณี ก็ได้ การชี้ขาดของเลขาธิการหรืออนุญาโตตุลาการให้เป็นที่สุด มาตรา ๑๑๕ คำร้องตามมาตรา ๑๑๔ ให้เป็นไปตามแบบที่เลขาธิการกำหนด และอย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อและที่อยู่ของคู่พิพาท (๒) ประเด็นข้อพิพาท (๓) เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง มาตรา ๑๑๖ การพิจารณาและชี้ขาดข้อพิพาทของเลขาธิการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด มาตรา ๑๑๗ ในกรณีที่คู่พิพาทร้องขอให้มีการชี้ขาดข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ ให้อนุญาโตตุลาการประกอบด้วยบุคคลซึ่งคณะกรรมการตลาดแต่งตั้งหนึ่งคนเป็นประธาน และบุคคลซึ่งคู่พิพาทแต่งตั้งอีกฝ่ายละหนึ่งคน ทั้งนี้ โดยให้พิจารณาแต่งตั้งจากบัญชีรายชื่ออนุญาโตตุลาการที่คณะกรรมการตลาดขึ้นทะเบียนไว้ ให้นำกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการมาใช้บังคับกับการพิจารณาและชี้ขาดข้อพิพาทของอนุญาโตตุลาการตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม หมวด ๕ การควบคุมดูแล มาตรา ๑๑๘ ห้ามมิให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้ากระทำการดังต่อไปนี้ (๑) ซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด หรือเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๒) ซื้อหรือขายสินค้าเกษตรให้แก่ลูกค้า โดยไม่มีคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายจากลูกค้า (๓) รับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายสินค้าเกษตรจากลูกค้านอกสถานที่ทำการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่คณะกรรมการ ก.ส.ล. จะกำหนดเป็นอย่างอื่น (๔) โฆษณากิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่การโฆษณานั้นจะได้กระทำตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เลขาธิการกำหนด มาตรา ๑๑๙ ห้ามมิให้ผู้ใดซื้อขายล่วงหน้าหรือเสนอที่จะซื้อขายล่วงหน้า หรือกระทำการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายล่วงหน้า ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมจนอาจทำให้ผู้อื่นเข้าใจว่าสินค้าเกษตรที่ซื้อขายมีราคาสูงขึ้น ลดลง คงที่ หรือผันผวนอันไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้คณะกรรมการตลาดมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์อันถือเป็นข้อพิจารณาเกี่ยวกับสภาพปกติของตลาด มาตรา ๑๒๐ ห้ามมิให้ผู้ใดซื้อขายล่วงหน้าหรือเสนอที่จะซื้อขายล่วงหน้าหรือกระทำการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายล่วงหน้าไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในประการที่น่าจะเป็นการเอาเปรียบผู้อื่นโดยอาศัยข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อประชาชนและตนได้ล่วงรู้มาเพราะการดำรงตำแหน่งหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ในการซื้อขายล่วงหน้านั้น หรือได้ล่วงรู้มาเพราะได้รับมาจากบุคคลดังกล่าวข้างต้น และไม่ว่าการกระทำดังกล่าวจะกระทำเพื่อประโยชน์ตนเองหรือผู้อื่น หรือนำข้อเท็จจริงเช่นนั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ผู้อื่นกระทำโดยตนได้รับประโยชน์ตอบแทน มาตรา ๑๒๑ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำด้วยประการใด ๆ ที่น่าจะทำให้ผู้อื่นหลงผิดว่าได้มีการซื้อหรือขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดกันมาก หรือราคาของสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดนั้นได้เปลี่ยนแปลงหรือไม่เปลี่ยนแปลงอันไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด มาตรา ๑๒๒ ห้ามมิให้ผู้ใดบอกกล่าวหรือแพร่ข้อความที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตร หรือการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดอันเป็นเท็จ หรือบอกกล่าวหรือแพร่ข้อความอื่นใดที่อาจก่อให้เกิดความสำคัญผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดต่อผู้อื่นโดยการกระทำดังกล่าวน่าจะมีผลทำให้ราคาสินค้าเกษตรนั้นผิดไปจากสภาพปกติของตลาด หรือน่าจะทำให้ผู้อื่นทำการซื้อขายล่วงหน้า การกระทำตามวรรคหนึ่ง แม้ผู้บอกกล่าวหรือแพร่ข้อความจะมิได้กระทำโดยเจตนาแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดความจริง แต่หากกระทำโดยปราศจากความระมัดระวังตามวิสัยหรือพฤติการณ์ที่พึงมีตามสมควร หรือกระทำโดยละเลยที่จะพิจารณาความเป็นจริงของข้อความนั้น ให้ผู้บอกกล่าวหรือแพร่ข้อความนั้นมีความผิดตามวรรคหนึ่งด้วย มาตรา ๑๒๓ ห้ามมิให้ผู้ใดให้คำรับรองหรือคำคาดการณ์ที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตรหรือการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรประเภทหรือชนิดใดต่อผู้อื่น ซึ่งคำรับรองหรือคำคาดการณ์นั้นเป็นเท็จหรืออาจก่อให้เกิดความสำคัญผิดในสาระสำคัญ โดยการกระทำดังกล่าวน่าจะทำให้ผู้อื่นทำการซื้อขายล่วงหน้า การกระทำตามวรรคหนึ่ง แม้ผู้ให้คำรับรองหรือคำคาดการณ์จะมิได้กระทำโดยเจตนาแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดความจริง แต่หากกระทำโดยปราศจากความระมัดระวังตามวิสัยหรือพฤติการณ์ที่พึงมีตามสมควร หรือกระทำโดยละเลยที่จะพิจารณาความเป็นจริงเกี่ยวกับสินค้าเกษตรหรือการซื้อขายล่วงหน้านั้น ให้ผู้ให้คำรับรองหรือคำคาดการณ์นั้นมีความผิดตามวรรคหนึ่งด้วย มาตรา ๑๒๔ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าหรือเป็นสำนักงานสาขาของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่เป็นบุคคลที่มีการแจ้งชื่อไว้ตามมาตรา ๓๑ หรือได้รับอนุญาตจากเลขาธิการตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๑๒๕ เพื่อป้องกันความเสียหายอันอาจเกิดแก่เศรษฐกิจของประเทศหรือประโยชน์ของประชาชน ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจ (๑) ห้ามการซื้อขายล่วงหน้าทั้งหมดในตลาดเป็นการชั่วคราว โดยกำหนดระยะเวลาตามที่เห็นสมควร (๒) สั่งให้คณะกรรมการตลาดหรือผู้จัดการกระทำการหรืองดเว้นกระทำการอื่นใดตามที่เห็นสมควร การดำเนินการตาม (๑) ให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. ทำเป็นหนังสือและประกาศไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการของตลาด มาตรา ๑๒๖ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าที่สมาชิกสั่งซื้อหรือสั่งขายในขณะใดขณะหนึ่งว่า สมาชิกได้สั่งซื้อหรือสั่งขายไว้เพื่อตนเองหรือเพื่อลูกค้าหรือสมาชิกได้สั่งซื้อหรือสั่งขายไว้เพื่อลูกค้ารายใด ให้เป็นไปตามลำดับก่อนหลังดังต่อไปนี้ (๑) ลูกค้าที่สั่งซื้อหรือขายก่อนให้ได้รับประโยชน์เป็นลำดับแรก (๒) ให้การซื้อขายของสมาชิกเพื่อลูกค้าอยู่ในลำดับก่อนการซื้อขายเพื่อตนเอง หมวด ๖ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ มาตรา ๑๒๗ ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์คณะหนึ่ง ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน โดยในจำนวนนั้นต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านกฎหมาย การพาณิชย์ การเงิน หรือมีประสบการณ์สูงด้านธุรกิจการซื้อขายสินค้าล่วงหน้า อย่างน้อยด้านละหนึ่งคน และอธิบดีกรมการค้าภายในเป็นกรรมการและเลขานุการ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์จะเป็นกรรมการในคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือคณะกรรมการตลาดไม่ได้ มาตรา ๑๒๘ การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตำแหน่ง การประชุม การห้ามเข้าร่วมพิจารณา และค่าตอบแทนของกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้นำมาตรา ๖ มาตรา ๘ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๔ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๒๙ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า สมาชิก หรือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการสั่งการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้ใดไม่เห็นด้วยกับคำสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๖ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๑ วรรคสอง มาตรา ๖๒ วรรคสอง มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และ มาตรา ๖๕ และคำวินิจฉัยหรือคำสั่งของคณะกรรมการตลาดตามมาตรา ๑๐๔ (๑) (๒) และ(๓) ให้ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งของเลขาธิการ หรือคำวินิจฉัยหรือคำสั่งของคณะกรรมการตลาด แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์กำหนด การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่ง ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการหรือคำวินิจฉัยหรือคำสั่งของคณะกรรมการตลาด เว้นแต่คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์จำนวนสามในสี่ของจำนวนกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ทั้งหมดจะมีมติเป็นอย่างอื่น คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจดังต่อไปนี้ (๑) เข้าไปในสถานที่ประกอบธุรกิจหรือสถานที่ทำการของตลาดหรือผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือสถานที่ซึ่งรวบรวมหรือประมวลข้อมูลของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น เพื่อตรวจสอบกิจการ สินทรัพย์และหนี้สินของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (๒) ค้นสถานที่ใด ๆ ที่มีเหตุควรสงสัยว่ามีการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งมีอำนาจยึดหรืออายัดเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบหรือดำเนินคดี (๓) สั่งให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ผู้สอบบัญชีของตลาดและผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยคำหรือส่งเอกสาร หลักฐานอื่นเกี่ยวกับการดำเนินงาน สินทรัพย์ และหนี้สินของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและบุคคลข้างต้น เมื่อได้เข้าไปและลงมือทำการตรวจสอบตาม (๑) หรือ (๒) แล้ว ถ้ายังดำเนินการไม่เสร็จ จะกระทำต่อไปในเวลากลางคืนหรือนอกเวลาทำการของสถานที่นั้นก็ได้ การใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม (๑) (๒) และ (๓) จะต้องเป็นการกระทำต่อผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องที่ดำเนินการตรวจสอบ และต้องได้รับความเห็นชอบจากเลขาธิการก่อน และในกรณีตาม (๓) พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องกำหนดระยะเวลาอันสมควรที่จะให้ผู้นั้นสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม (๑) พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องไม่กระทำการอันมีลักษณะเป็นการข่มขู่หรือเป็นการตรวจค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และต้องมีหนังสือบอกกล่าวแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวันทำการ และในกรณีตาม(๒) ถ้ามีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าหากเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ เอกสารหรือหลักฐานดังกล่าวจะถูกยักย้าย ซุกซ่อน ทำลาย หรือทำให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม ก็ให้ดำเนินการค้นและยึดหรืออายัดเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น มาตรา ๑๓๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องอำนวยความสะดวกตามสมควร มาตรา ๑๓๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๓๓ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เลขาธิการและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๔ ในกรณีที่ปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่า ผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีลักษณะอันอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชนจะทำการยักย้ายหรือจำหน่ายทรัพย์สินของตน ให้สำนักงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. มีอำนาจสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้นั้นหรือทรัพย์สินที่มีหลักฐานเชื่อได้ว่าเป็นของผู้นั้นไว้ได้ไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวัน เว้นแต่จะมีการฟ้องคดีผู้นั้นต่อศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง ในกรณีเช่นนี้ให้คำสั่งยึดหรืออายัดดังกล่าวยังมีผลต่อไปจนกว่าศาลจะมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น และในกรณีมีเหตุจำเป็นไม่สามารถฟ้องคดีได้ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน ศาลที่มีเขตอำนาจจะสั่งขยายระยะเวลาออกไปอีกตามคำขอของสำนักงานก็ได้ แต่จะขยายเวลาอีกเกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันไม่ได้ เมื่อสำนักงานมีคำสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินดังกล่าว การยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง และให้นำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่าผู้กระทำความผิดตามวรรคหนึ่งจะหลบหนีออกนอกราชอาณาจักร เมื่อสำนักงานร้องขอ ให้ศาลอาญามีอำนาจสั่งห้ามมิให้ผู้นั้นออกนอกราชอาณาจักรไว้ก่อนเป็นการชั่วคราวได้เป็นเวลาไม่เกินสิบห้าวัน จนกว่าศาลอาญาจะมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น หมวด ๘ บทกำหนดโทษ มาตรา ๑๓๕ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๖ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ มาตรา ๑๓๖ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๖ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๑๐๔ (๔) มาตรา ๑๑๑ หรือมาตรา ๑๑๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ฝ่าฝืนหรือที่ยังมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง ในกรณีที่การกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการ การกระทำหรือไม่กระทำการอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทำของกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการนั้นต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๓๗ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามตามมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๕๕ หรือมาตรา ๕๖ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ฝ่าฝืนหรือที่ยังมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง มาตรา ๑๓๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๓๙ ผู้ดูแลผลประโยชน์ผู้ใด กระทำการหรือไม่กระทำการอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทำตามมาตรา ๕๐ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ฝ่าฝืนหรือที่ยังมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง มาตรา ๑๔๐ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๔ และมาตรา ๗๕ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินห้าแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ มาตรา ๑๔๑ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗๖ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละสามพันบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ มาตรา ๑๔๒ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๑๙ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๑๒๐ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงห้าปี และปรับไม่เกินสองเท่าของผลประโยชน์ที่บุคคลนั้นๆ ได้รับไว้ หรือพึงจะได้รับเพราะการฝ่าฝืนดังกล่าว แต่ทั้งนี้ค่าปรับดังกล่าวต้องไม่น้อยกว่าห้าแสนบาท มาตรา ๑๔๓ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๒๑ มาตรา ๑๒๒ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๑๒๓วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๔๔ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๒๒ วรรคสอง หรือมาตรา ๑๒๓ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๔๕ ผู้ใดให้ถ้อยคำหรือรายงานอันเป็นเท็จต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งทำหรืออาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนและปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท มาตรา ๑๔๖ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๓๐ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๔๗ ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๓๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๔๘ ผู้ใดถอน ทำให้เสียหาย ทำลาย หรือทำให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งตราหรือเครื่องหมายซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ประทับหรือหมายไว้ที่สิ่งใด ๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๓๐ หรือมาตรา ๑๓๔ เพื่อเป็นหลักฐานในการยึดหรืออายัดหรือรักษาสิ่งนั้น ๆ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินสามแสนบาท มาตรา ๑๔๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทำให้สูญหายหรือไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์สินหรือเอกสารใด ๆ อันพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ยึด อายัด รักษาไว้ หรือสั่งให้ส่งเพื่อเป็นพยานหลักฐานตามมาตรา ๑๓๐ ไม่ว่าพนักงานเจ้าหน้าที่จะรักษาทรัพย์สินหรือเอกสารนั้นไว้เอง หรือสั่งให้ผู้นั้นหรือผู้อื่นส่งหรือรักษาไว้ก็ตาม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินสามแสนบาท มาตรา ๑๕๐ ผู้สอบบัญชีของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า สมาชิก หรือตลาดผู้ใดรับรองงบดุลหรือบัญชีอื่นใดให้ผิดไปจากความเป็นจริง หรือทำรายงานเท็จ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามเดือนถึงสามปี หรือปรับตั้งแต่สามหมื่นบาทถึงสามแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๕๑ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใด กระทำการหรือยินยอมให้บุคคลใดกระทำการดังต่อไปนี้ (๑) ทำให้เสียหาย ทำลาย เปลี่ยนแปลง ตัดทอน หรือปลอมบัญชีเอกสาร หรือหลักประกันของผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าว หรือที่เกี่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าว (๒) ลงข้อความเท็จหรือไม่ลงข้อความสำคัญในบัญชีหรือเอกสารของผู้ประกอบธุรกิจหรือที่เกี่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจนั้น หรือ (๓) ทำบัญชีไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ไม่เป็นปัจจุบัน หรือไม่ตรงต่อความเป็นจริง ถ้าได้กระทำหรือยินยอมให้กระทำเพื่อลวงให้ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวหรือผู้ถือหุ้นขาดประโยชน์อันควรได้ หรือลวงบุคคลใด ๆ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๒ พนักงาน ลูกจ้าง หรือตัวแทนของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าโดยทุจริตหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จแก่ลูกค้าหรือโดยการปกปิดความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งแก่ลูกค้า และโดยการหลอกลวงดังว่านั้น ได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากลูกค้าผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทำให้ลูกค้าหรือบุคคลที่สามทำ ถอน หรือทำลายเอกสารสิทธิ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๓ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งได้รับมอบหมายให้จัดการทรัพย์สินของผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย กระทำผิดหน้าที่ของตนด้วยประการใด ๆ โดยทุจริตจนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สินของผู้ประกอบธุรกิจนั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๔ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งครอบครองทรัพย์ที่เป็นของผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าว หรือที่ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย เบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตน หรือบุคคลที่สามโดยทุจริต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๕ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใด เอาไปเสีย ทำให้เสียหาย ทำลาย ทำให้เสื่อมค่า หรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์สินที่ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวมีหน้าที่ดูแลหรือที่อยู่ในความครอบครองของผู้ประกอบธุรกิจนั้นถ้าได้กระทำเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินห้าแสนบาท มาตรา ๑๕๖ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าผู้ใด กระทำการหรือไม่กระทำการเพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อตนเองหรือผู้อื่นอันเป็นการเสียหายแก่ผู้ประกอบธุรกิจนั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงเจ็ดแสนบาท มาตรา ๑๕๗ ผู้ใดก่อให้กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจซื้อขายล่วงหน้า หรือผู้สอบบัญชี กระทำความผิดตามที่บัญญัติในมาตรา ๑๕๐ มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๒ มาตรา ๑๕๓ มาตรา ๑๕๔ มาตรา ๑๕๕ หรือมาตรา ๑๕๖ ไม่ว่าด้วยการใช้ สั่ง ขู่เข็ญ จ้าง หรือด้วยวิธีอื่นใด ต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้น ๆ มาตรา ๑๕๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการที่กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือผู้สอบบัญชี กระทำความผิดตามที่บัญญัติในมาตรา ๑๕๐ มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๒ มาตรา ๑๕๓ มาตรา ๑๕๔ มาตรา ๑๕๕ หรือมาตรา ๑๕๖ ไม่ว่าก่อนหรือขณะกระทำความผิด ต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้น ๆ เว้นแต่ผู้นั้นมิได้รู้ถึงการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนั้น มาตรา ๑๕๙ ผู้ใดล่วงรู้กิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เนื่องจากการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้อันเป็นกิจการที่ตามปกติวิสัยจะพึงสงวนไว้ไม่เปิดเผย ถ้าผู้นั้นนำไปแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือเปิดเผยแก่บุคคลอื่น อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ลูกค้าหรือผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือตลาด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ความในวรรคหนึ่งมิให้นำมาใช้บังคับแก่การเปิดเผยในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) การเปิดเผยตามหน้าที่ (๒) การเปิดเผยเพื่อประโยชน์แก่การสอบสวนหรือการพิจารณาคดี (๓) การเปิดเผยเกี่ยวกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) การเปิดเผยเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๕) การเปิดเผยแก่ผู้สอบบัญชีของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัตินี้ (๖) การเปิดเผยแก่ทางการ ตลาดหรือหน่วยงานที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด (๗) การเปิดเผยเมื่อได้รับความเห็นชอบจากบุคคลดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษร มาตรา ๑๖๐ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับ หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปีและปรับ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบความผิดที่รัฐมนตรีแต่งตั้งมีอำนาจเปรียบเทียบได้ คณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้มีจำนวนสามคน ซึ่งคนหนึ่งต้องเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้ทำการเปรียบเทียบกรณีใด และผู้ต้องหาได้ชำระค่าปรับตามคำเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกำหนดแล้ว ให้คดีนั้นเป็นอันเลิกกัน บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๖๑ ให้กระทรวงพาณิชย์ได้รับเงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร และกองทุนส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ เพื่อให้สำนักงานนำไปใช้จ่ายและดำเนินการจัดตั้งตลาด รวมทั้งเป็นเงินอุดหนุนกองทุนพัฒนาตลาด มาตรา ๑๖๒ ภายในระยะเวลาสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มิให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๙ (๔) มาใช้บังคับแก่การดำรงตำแหน่งของเลขาธิการ มาตรา ๑๖๓ ภายในระยะเวลาสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้คณะกรรมการตลาดประกอบด้วยกรรมการซึ่งคณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งจำนวนสิบเอ็ดคน โดยให้คณะกรรมการ ก.ส.ล. แต่งตั้งกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ผู้จัดการในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว มาตรา ๑๖๔ บุคคลใดดำเนินกิจการตลาดหรือกิจการอันมีลักษณะหรือสภาพอย่างเดียวกันอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้บุคคลนั้นเลิกประกอบกิจการดังกล่าวภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และภายในระยะเวลาดังกล่าวมิให้นำมาตรา ๗๕ มาบังคับใช้แก่บุคคลนั้น มาตรา ๑๖๕ บุคคลใดใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อในธุรกิจว่า “ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า” หรือคำอื่นใดที่มีความหมายเช่นเดียวกัน อยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้บุคคลนั้นเลิกใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อดังกล่าวภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และภายในระยะเวลาดังกล่าวมิให้นำมาตรา ๗๖ มาบังคับใช้แก่บุคคลนั้น ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ราคาสินค้าเกษตรขาดเสถียรภาพก่อให้เกิดปัญหาความเสี่ยงแก่เกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรและผู้ส่งออก และประกอบกับตลาดสินค้าเกษตรที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้ ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเสถียรภาพของราคาสินค้าเกษตรในระยะยาวและเพื่อส่งเสริมพัฒนาการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เห็นสมควรจัดตั้งตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้เกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรและผู้ส่งออกสามารถเข้าไปทำการซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรในตลาดที่มีกฎและหลักเกณฑ์การซื้อขายล่วงหน้าที่แน่นอน รวมถึงมีมาตรการในการซื้อขายล่วงหน้าที่ก่อให้เกิดความเป็นธรรมและคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนและลูกค้าและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอันจะช่วยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรในอนาคต และสามารถวางแผนการผลิตและการค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดได้ สมควรมีกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พัชรินทร์/เนติมา/จัดทำ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖ วาทินี/ศิริยา/ปรับปรุง ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙ วศิน/แก้ไข ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๒ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๙๘ ก/หน้า ๔/๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๒
384861
กฎกระทรวงกำหนดแบบบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2546
กฎกระทรวง กฎกระทรวง กำหนดแบบบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๔๖[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๑๓๒ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้เป็นไปตามแบบท้ายกฎกระทรวงนี้ ข้อ ๒ ให้เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าเป็นผู้ออกบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ข้อ ๓ รูปถ่ายที่ติดบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ใช้รูปถ่ายที่ถ่ายไม่เกินหกเดือนก่อนวันยื่นคำขอมีบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ขนาด ๒.๕´๓ เซนติเมตร ครึ่งตัว หน้าตรง ไม่สวมหมวกและแว่นตาสีเข้ม ข้อ ๔ บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ใช้ได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในบัตร แต่ต้องไม่เกินห้าปีนับแต่วันออกบัตร ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ อดิศัย โพธารามิก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ แบบบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ท้ายกฎกระทรวงกำหนดแบบบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๔๖ [ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย] หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๑๓๒ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติว่า บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ จารุวรรณ/พิมพ์ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๔๖ [๑] รก.๒๕๔๖/๓๕ก/๓/๒๙ เมษายน ๒๕๔๖
702739
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 2/2548 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับ Update ล่าสุด)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๒ และมาตรา ๓๕ (๗) และ (๘) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๕ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๔๕ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๖ บรรดาประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศที่ถูกยกเลิกตามวรรคหนึ่งยังคงใช้บังคับได้ต่อไปโดยอนุโลม ทั้งนี้ จนกว่าจะถูกยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศนี้ ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ”[๒] หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อำนวยการฝ่าย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า การปฏิบัติการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือการวิจัยด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือสายงานอื่นในทำนองเดียวกัน “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่”[๓] (ยกเลิก) “ประสบการณ์ในการทำงาน”[๔] (ยกเลิก) “ทุนที่ออกและชำระแล้ว” หมายความว่า ทุนที่ออกและชำระแล้วของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนที่ออกและชำระแล้วซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “ระบบการซื้อขาย”[๕] (ยกเลิก) “กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง”[๖] หมายความว่า ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ข้อกำหนด มติ และหนังสือเวียนที่ออกโดยคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือสำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “พระราชบัญญัติ”[๗] หมายความว่า พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ “งานสนับสนุน”[๘] หมายความว่า งานปฏิบัติการด้านซื้อขายล่วงหน้า งานบัญชีและการเงิน งานเทคโนโลยีสารสนเทศส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลของลูกค้า งานตรวจสอบภายใน งานกำกับดูแลการปฏิบัติงานของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (Compliance) หรืองานสนับสนุนอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับงานดังกล่าว หมวด ๑ การดำรงคุณสมบัติของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๓[๙] นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ตลอดระยะเวลาของการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๑) เป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ (๒)[๑๐] (ยกเลิก) (๓)[๑๑] มีบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม (๔)[๑๒] (ยกเลิก) (๕) มีพนักงานที่สำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองอย่างน้อยห้าคน แต่ทั้งนี้ สำนักงานอาจกำหนดจำนวนพนักงานน้อยกว่าจำนวนดังกล่าวก็ได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๔[๑๓] (ยกเลิก) หมวด ๒ การควบคุมการประกอบธุรกิจ ส่วนที่ ๑ ระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจ ข้อ ๕[๑๔] นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องมีระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑)[๑๕] โครงสร้างองค์กร นโยบาย ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ รวมทั้งการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งแสดงได้ว่ามีระบบป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ระบบป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลระหว่างหน่วยงานและผู้ปฏิบัติงาน ระบบการบริหารความเสี่ยง การจัดการด้านการปฏิบัติงาน และระบบการตรวจสอบและควบคุมภายในที่สามารถรองรับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีมาตรการในการควบคุมและติดตามให้มีการดำเนินงานตามที่กำหนดไว้ (๒)[๑๖] หน่วยงานกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Unit) ที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ โดยหน่วยงานดังกล่าวต้องมีความเป็นอิสระในการดำเนินงานและบุคลากรที่ทำหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Officer) ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด (๓) หน่วยงานและบุคลากรที่มีหน้าที่ติดต่อ ชักชวนเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้าแยกออกจากหน่วยงานและบุคลากรที่มีหน้าที่ตัดสินใจซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเองของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า โดยต้องไม่ให้บุคลากรที่มีหน้าที่ตัดสินใจซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเองของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าได้ล่วงรู้และเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้า เว้นแต่ข้อมูลการซื้อขายล่วงหน้าในภาพรวมเท่านั้น วรรคสอง[๑๗] (ยกเลิก) (๔)[๑๘] เอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดเก็บให้ครบถ้วนอย่างน้อยเป็นระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่มีเอกสารและหลักฐานนั้นหรือวันที่มีการซื้อขายล่วงหน้า แล้วแต่กรณี โดยในสองปีแรกของระยะเวลาดังกล่าว นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดเตรียมเอกสารและหลักฐานเก็บไว้ ณ ที่ทำการของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่พร้อมให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ตลอดเวลา เว้นแต่สำนักงานจะกำหนดเป็นอย่างอื่น ทั้งนี้ หากมีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการรับส่งคำสั่งซื้อขายล่วงหน้าหรือการเจรจาตกลง และการดำเนินการกับข้อร้องเรียนยังไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจัดเก็บบันทึกเกี่ยวกับการดำเนินการดังกล่าวไว้ต่อไปจนกว่าการดำเนินการกับข้อร้องเรียนจะแล้วเสร็จ การจัดเก็บเอกสารและหลักฐานดังกล่าว ให้รวมถึงข้อมูลซึ่งได้กระทำทางโทรศัพท์หรือทางระบบอื่นใดที่สามารถใช้เป็นหลักฐานได้ด้วย (๕) ระบบการดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนของลูกค้า ตามประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๔๖ เรื่อง การกำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนของลูกค้า ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๖ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๕/๑[๑๙] ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าประสงค์จะซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเอง ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจัดให้มีหน่วยงานและบุคลากร ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๖[๒๐] ในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจัดให้มีบุคลากรดังต่อไปนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด (๑) เจ้าหน้าที่ติดต่อลูกค้า ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะติดต่อ ชักชวนหรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้า (๒) นักวิเคราะห์การซื้อขายล่วงหน้า ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าหรือจัดทำรายงานหรือบทวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าเพื่อให้บริการหรือเผยแพร่แก่ลูกค้าในนามของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๗[๒๑] ห้ามมิให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าประกอบธุรกิจอื่นใด เว้นแต่ธุรกิจดังต่อไปนี้ (๑) ธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ ประเภทที่ได้รับอนุญาต (๒) ธุรกิจที่มีลักษณะครบถ้วน ดังนี้ (ก) ธุรกิจอื่นที่จะประกอบการนั้น มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่ไม่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าอย่างเพียงพอ (ข) ธุรกิจอื่นที่จะประกอบการนั้น มีระบบในการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าอย่างเพียงพอ (ค) เป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ ประเภทที่ได้รับอนุญาต โดยสนับสนุนการให้บริการให้มีความสมบูรณ์และครบวงจรยิ่งขึ้น หรือเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้เกิดประโยชน์ยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจตาม (๒) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด (๓) ธุรกิจอื่น ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๘[๒๒] ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าประกอบธุรกิจอื่นใดก่อนวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่มิใช่ธุรกิจตามข้อ ๗ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเลิกประกอบธุรกิจอื่นนั้นภายในวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ เว้นแต่จะได้รับการขยายระยะเวลาจากสำนักงานหรือได้รับความเห็นชอบแผนประเมินและควบคุมความเสี่ยงของธุรกิจนั้นจากสำนักงาน ส่วนที่ ๒ การเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ข้อ ๙[๒๓] (ยกเลิก) ข้อ ๑๐[๒๔] (ยกเลิก) ข้อ ๑๑[๒๕] (ยกเลิก) ข้อ ๑๒[๒๖] (ยกเลิก) หมวด ๓ การแสดงตนเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๓ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ให้ข้อมูลอันเป็นเท็จเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่และภาระผูกพันของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อลูกค้าหรือบุคคลทั่วไป หรือแสดงตนเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับการค้ำประกันหรือการรับรองจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือสำนักงาน เว้นแต่เป็นการแสดงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๔[๒๗] ในการให้บริการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงอันควรบอกให้แจ้ง อันเป็นการหลอกลวงหรืออาจทำให้ลูกค้าสำคัญผิดในสาระสำคัญ ข้อ ๑๕[๒๘] นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ (๑) รับรองแก่ลูกค้าว่าจะได้รับผลตอบแทนจากการซื้อขายล่วงหน้า (๒) รับประกันความเสียหายหรือผลขาดทุนที่เกิดจากการซื้อขายล่วงหน้า (๓) รับประกันว่าจะไม่เรียกเก็บเงินประกันขั้นต่ำหรือเรียกเงินประกันเพิ่มเติม (๔) กล่าวอ้าง รับประกันหรือสัญญาใด ๆ อันมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับ (๑) (๒) และ (๓) ข้อ ๑๖ ก่อนการเปิดบัญชีซื้อขายล่วงหน้าให้แก่ลูกค้ารายใหม่ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งให้ลูกค้ารายใหม่ทราบถึงความเสี่ยง ค่าใช้จ่ายและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการซื้อขายล่วงหน้า กลไกการซื้อขาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง สิทธิและหน้าที่ของลูกค้าอย่างชัดเจนและครบถ้วน โดยลูกค้าต้องลงลายมือชื่อเพื่อรับทราบและเข้าใจด้วย ข้อ ๑๗ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ทำสัญญาใด ๆ เพื่อยกเลิกหรือจำกัดความรับผิดของตนเองที่มีหน้าที่ต้องปฏิบัติต่อลูกค้าตามที่พระราชบัญญัติและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกำหนด ข้อ ๑๘ ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าถูกพักใช้หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ห้ามแสดงตนเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อลูกค้าหรือบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งเหตุตามวรรคหนึ่งให้ลูกค้าทราบโดยไม่ชักช้า หมวด ๔ การจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้า ข้อ ๑๙[๒๙] (ยกเลิก) ข้อ ๒๐[๓๐] (ยกเลิก) ข้อ ๒๑[๓๑] การขอเปิดบัญชีซื้อขายล่วงหน้าและการทำสัญญาระหว่างนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ากับลูกค้า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะต้องมั่นใจว่าได้รับข้อมูลหรือเอกสารหรือหลักฐานเพียงพอที่แสดงอย่างชัดเจนถึงความประสงค์ของลูกค้าในการซื้อขายล่วงหน้าเพื่อการประกันความเสี่ยง และ/หรือเพื่อการเก็งกำไร ความรู้ ความเข้าใจและประสบการณ์ในธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า การประกอบอาชีพของลูกค้า ฐานะทางการเงิน ข้อจำกัดในการซื้อขายของลูกค้าและความสามารถในการวางเงินประกันและชำระหนี้ของลูกค้า หมวด ๕ การรับคำสั่งและการส่งคำสั่งซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๒๒[๓๒] (ยกเลิก) ข้อ ๒๓ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องซื้อขายล่วงหน้าให้เป็นไปตามคำสั่งของลูกค้าที่เป็นเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าหรือบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจจากลูกค้าที่เป็นเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าเท่านั้น และต้องไม่ซื้อขายล่วงหน้าโดยใช้บัญชีซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้ารายหนึ่งเพื่อลูกค้ารายอื่น ข้อ ๒๔[๓๓] (ยกเลิก) ข้อ ๒๕[๓๔] นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่กระทำการใด ๆ อันเข้าลักษณะเป็นการเอาเปรียบ เบียดบังหรือแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากลูกค้าตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๒๖[๓๕] (ยกเลิก) ข้อ ๒๗ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดให้มีระบบตรวจสอบที่เชื่อถือได้ว่าบุคคลที่ส่งคำสั่งให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าดำเนินการกับทรัพย์สินในบัญชีของลูกค้าเป็นเจ้าของบัญชีที่แท้จริงหรือเป็นบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของบัญชีที่แท้จริง เช่น มีระบบตรวจสอบลายมือชื่อก่อนที่จะดำเนินการกับทรัพย์สินในบัญชีของลูกค้าตามคำสั่งที่ได้รับ หมวด ๖ การรายงานการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๒๘[๓๖] นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องยืนยันผลการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้า ภายหลังจากได้รับทราบว่าคำสั่งที่ได้เสนอเข้าไปในตลาดได้รับการจับคู่แล้ว ข้อ ๒๙[๓๗] นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดทำบัญชีแสดงรายการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้าแต่ละราย ตลอดจนปรับปรุงบัญชีดังกล่าวให้เป็นปัจจุบัน ข้อ ๓๐[๓๘] (ยกเลิก) หมวด ๗ ข้อปฏิบัติอื่นของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๓๑[๓๙] (ยกเลิก) ข้อ ๓๑/๑[๔๐] สำนักงานอาจกำหนดให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่มีปริมาณการซื้อขายล่วงหน้าตามที่สำนักงานกำหนด ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมรายปีก็ได้ ข้อ ๓๒[๔๑] นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องตรวจสอบดูแลการปฏิบัติงานของพนักงานและบุคลากรของตนให้เป็นไปตามจรรยาบรรณและตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๓๒/๑[๔๒] นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดต่อลูกค้าและงานสนับสนุนแทนตนมิได้ เว้นแต่จะได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๓๓ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศนี้และเพื่อให้การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องเปิดเผยหรือรายงานข้อมูลที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามแบบและระยะเวลาที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๓๓/๑[๔๓] นอกจากที่ระบุไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้สำนักงานมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่กำหนดในประกาศนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติและเพื่อความสะดวกในการตรวจสอบการปฏิบัตินั้นได้ ข้อ ๓๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ วัฒนา เมืองสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๔๔] ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๔๕] ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๒๒ บรรดาประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศข้อที่ถูกยกเลิกยังคงใช้บังคับได้ต่อไปโดยอนุโลม ทั้งนี้ จนกว่าจะถูกยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศนี้ ข้อ ๒๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๔๖] ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๑๐ บรรดาประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติมที่ถูกยกเลิกตามประกาศนี้ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปโดยอนุโลม ทั้งนี้ จนกว่าจะถูกยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมในภายหลัง ข้อ ๑๑ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕)[๔๗] ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖)[๔๘] ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๑๒ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗)[๔๙] ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๘)[๕๐] ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๙)[๕๑] ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๘) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๑๐)[๕๒] จุฑามาศ/ผู้จัดทำ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๔๖/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๒] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๓] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๔] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “ประสบการณ์ในการทำงาน” ยกเลิกโดยโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๕] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “ระบบการซื้อขาย” ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๖] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง” แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๗] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “พระราชบัญญัติ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๘] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “งานสนับสนุน” เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๙] ข้อ ๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๑๐] ข้อ ๓ (๒) ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๘) [๑๑] ข้อ ๓ (๓) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗) [๑๒] ข้อ ๓ (๔) ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๑๐) [๑๓] ข้อ ๔ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๑๐) [๑๔] ข้อ ๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๑๕] ข้อ ๕ (๑) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๑๖] ข้อ ๕ (๒) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๑๐) [๑๗] ข้อ ๕ (๓) วรรคสอง ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๑๘] ข้อ ๕ (๔) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๑๙] ข้อ ๕/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๑๐) [๒๐] ข้อ ๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๑๐) [๒๑] ข้อ ๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๒๒] ข้อ ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๒๓] ข้อ ๙ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๒๔] ข้อ ๑๐ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๒๕] ข้อ ๑๑ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๒๖] ข้อ ๑๒ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๒๗] ข้อ ๑๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๒๘] ข้อ ๑๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๒๙] ข้อ ๑๙ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๓๐] ข้อ ๒๐ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๓๑] ข้อ ๒๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๓๒] ข้อ ๒๒ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓๓] ข้อ ๒๔ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓๔] ข้อ ๒๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓๕] ข้อ ๒๖ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓๖] ข้อ ๒๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๓๗] ข้อ ๒๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓๘] ข้อ ๓๐ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓๙] ข้อ ๓๑ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๙) [๔๐] ข้อ ๓๑/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๔๑] ข้อ ๓๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๔๒] ข้อ ๓๒/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๔๓] ข้อ ๓๓/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๔๔] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๗๗/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๔๕] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๙๐/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๔๖] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๐๕/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๔๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๓๐/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๔๘] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๓๘/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๔๙] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๒๔/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓ [๕๐] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๒๔/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖ [๕๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๔๘/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๕๒] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๗๘ ง/หน้า ๖๖/๙ ธันวาคม ๒๕๕๖
706917
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 2/2550 เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับ Update ล่าสุด)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ การซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า[๑] โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและเป็นประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๗ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๘ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๔๘ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๙ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ การยกเลิกประกาศตามวรรคหนึ่งไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกยกเลิกดังกล่าว บรรดาประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศตามวรรคหนึ่ง ที่ถูกยกเลิกตามประกาศนี้ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปโดยอนุโลม ทั้งนี้ จนกว่าจะถูกยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมในภายหลัง ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “หลักทรัพย์” หมายความว่า หลักทรัพย์ตามที่สำนักงานกำหนด “ทุนจดทะเบียน” หมายความว่า ทุนจดทะเบียนของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “ทุนที่ออกและชำระแล้ว” หมายความว่า ทุนที่ออกและชำระแล้วของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนที่ออกและชำระแล้วซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “หน่วยงานกำกับดูแล” หมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการประกันภัย และหน่วยงานอื่นตามที่สำนักงานกำหนด “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เงินประกันความเสี่ยงของลูกค้า”[๒] หมายความว่า เงินประกันขั้นต่ำสำหรับบัญชีของลูกค้า ซึ่งคำนวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการของตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ข้อ ๓[๓] ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าดำรงฐานะทางการเงินตามที่กำหนดดังต่อไปนี้ตลอดระยะเวลาของการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๑) ทุนจดทะเบียนเฉพาะหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่าห้าสิบล้านบาท (๒) ทุนที่ออกและชำระแล้วเฉพาะหุ้นสามัญและส่วนเกินหรือส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่าห้าสิบล้านบาท ทั้งนี้ เฉพาะนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ก่อนวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ต้องไม่ต่ำกว่าสิบสองล้านห้าแสนบาท และ (๓) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิและอัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) เกณฑ์ขั้นต้น ได้แก่ ๑) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิไม่ต่ำกว่าสิบล้านห้าแสนบาท และ ๒) อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าไม่ต่ำกว่าร้อยละสิบสอง และ (ข) เกณฑ์ขั้นต่ำ ได้แก่ ๑) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิไม่ต่ำกว่าเจ็ดล้านบาท และ ๒) อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าไม่ต่ำกว่าร้อยละเจ็ด ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับเมื่อสำนักงานให้ความเห็นชอบการเริ่มประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. และสำนักงานกำหนดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแล้ว ข้อ ๔ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) คำนวณเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิทุกสิ้นวันทำการและจัดทำรายงานฐานะทางการเงิน ณ สิ้นวันทำการดังกล่าว ตามแบบที่สำนักงานกำหนดภายในวันทำการถัดไป และต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือผู้รับมอบอำนาจรับทราบรายงานฐานะทางการเงินนั้นด้วย นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะจัดทำรายงานฐานะทางการเงินโดยการบันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ ระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใดก็ได้ ทั้งนี้ ภายในสองปีแรกนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่จัดทำรายงานฐานะทางการเงิน ณ สิ้นวันทำการ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดเก็บรายงานดังกล่าวและหลักฐานแสดงการรับทราบของกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือผู้รับมอบอำนาจไว้ ณ สำนักงานแห่งใหญ่* พร้อมให้สำนักงานตรวจสอบได้ตลอดเวลา (๒) รายงานฐานะทางการเงิน ณ วันสุดท้ายของเดือนต่อสำนักงานตามแบบที่สำนักงานกำหนดภายในวันที่สิบของเดือนถัดไป ในกรณีที่มีเหตุจำเป็น สำนักงานอาจให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายงานฐานะทางการเงิน ณ วันทำการวันใดวันหนึ่ง ภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งก็ได้ ข้อ ๕ ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าดำรงฐานะทางการเงินต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต้นตามข้อ ๓ (๓) (ก) ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายงานฐานะทางการเงิน ณ วันที่ฐานะทางการเงินต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต้นอย่างช้าภายในสองวันทำการถัดไป และรายงานฐานะทางการเงินของแต่ละวันทำการดังกล่าวต่อเนื่องไปจนกว่าจะสามารถดำรงฐานะทางการเงินตามเกณฑ์ขั้นต้นทุกเกณฑ์ติดต่อกันเป็นเวลาสองวันทำการ ทั้งนี้ ตามแบบที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๖ ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าดำรงฐานะทางการเงินต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำตามข้อ ๓ (๓) (ข) ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแจ้งให้สำนักงานทราบโดยไม่ชักช้าและยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรภายในวันทำการถัดไป พร้อมทั้งรายงานฐานะทางการเงิน ณ วันที่ฐานะทางการเงินต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำภายในสองวันทำการถัดไปนับจากวันที่แจ้งให้สำนักงานทราบ ทั้งนี้ ตามแบบที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๗ การคำนวณเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๘ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายใดที่ประกอบกิจการอื่นด้วย โดยกิจการดังกล่าวอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของหน่วยงานกำกับดูแลอื่น หากนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายนั้นไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการดำรงฐานะทางการเงินขั้นต่ำของหน่วยงานกำกับดูแลนั้น ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายนั้นรายงานให้สำนักงานทราบโดยไม่ชักช้าและยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรภายในวันทำการถัดไป ข้อ ๘/๑[๔] มิให้นำความในข้อ ๓ (๓) ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ มาใช้บังคับแก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตหรือจดทะเบียนประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๘/๒[๕] นอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ (๑) และ (๒) ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๘/๑ ดำรงฐานะทางการเงิน คำนวณและรายงานการคำนวณเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ รวมถึงปฏิบัติงานอื่นเกี่ยวกับการดำรงฐานะทางการเงินดังกล่าวตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า รวมถึงหลักเกณฑ์ในเรื่องเดียวกันซึ่งใช้บังคับภายใต้กฎหมายดังกล่าวโดยอนุโลม ทั้งนี้ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้านั้นรายงานและปฏิบัติในเรื่องนี้ต่อสำนักงานเช่นเดียวกับที่ปฏิบัติต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ให้ถือว่าการปฏิบัติตามวรรคหนึ่งของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๘/๑ เป็นการปฏิบัติตามประกาศนี้ ข้อ ๙ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เกริกไกร จีระแพทย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๖] ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๘/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓)[๗] ข้อ ๕ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๓ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๘] ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๘ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕)[๙] ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป อุษมล/ผู้จัดทำ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ ณัฐพร/ผู้ตรวจ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๖ วริญา/เพิ่มเติม ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๑๐/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๒] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “เงินประกันความเสี่ยงของลูกค้า” เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๓ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓] ข้อ ๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๓ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) * “สำนักงานแห่งใหญ่” หมายความว่า สำนักงานแห่งใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีสำนักงานสาขาและการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานสาขา ลงวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม [๔] ข้อ ๘/๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๘ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) [๕] ข้อ ๘/๒ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๘/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๖] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๓๒/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๔๓/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๘] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๑๖/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖ [๙] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง/หน้า ๔/๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘
706925
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า กตส 2/2547 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับ Update ล่าสุด)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุน การซื้อขายล่วงหน้า[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๒ และมาตรา ๓๕ (๗) และ (๘) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “การซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า การซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ”[๒] หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อำนวยการฝ่าย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า การปฏิบัติการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือการวิจัยด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือสายงานอื่นในทำนองเดียวกัน “ประสบการณ์ในการทำงาน”[๓] (ยกเลิก) “ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าตามประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กป ๑/๒๕๔๗ เรื่อง การประกอบธุรกิจอื่นที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตร ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๔๗ และตามที่มีแก้ไขเพิ่มเติม “นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้จัดหาและรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้า “เจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า พนักงานของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่มีหน้าที่ติดต่อ ชักชวนหรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้าและได้ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนดแล้ว “ทุนจดทะเบียน” หมายความว่า ทุนจดทะเบียนของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “ทุนที่ออกและชำระแล้ว” หมายความว่า ทุนที่ออกและชำระแล้วของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนที่ออกและชำระแล้วซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “ส่วนของผู้ถือหุ้น”[๔] (ยกเลิก) “ข้อตกลง” หมายความว่า ข้อตกลงระหว่างนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ากับตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า “กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ข้อกำหนด มติ และหนังสือเวียนที่ออกโดยคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า คณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าหรือตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “พระราชบัญญัติ”[๕] หมายความว่า พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ หมวด ๑ การดำรงคุณสมบัติและการควบคุมการปฏิบัติงาน ข้อ ๒ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องดำรงคุณสมบัติดังต่อไปนี้ ตลอดระยะเวลาของการประกอบธุรกิจเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (๑) มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ (๒)[๖] มีทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่าสี่ล้านบาท ยกเว้นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นสหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ให้มีทุนไม่ต่ำกว่าสองล้านบาท (๓) มีทุนที่ออกและชำระแล้วเฉพาะหุ้นสามัญและส่วนเกินหรือส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่าหนึ่งล้านบาท (๔)[๗] (ยกเลิก) (๕)[๘] (ยกเลิก) (๖)[๙] มีบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม (๗) มีระบบการควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบการปฏิบัติงาน และระบบป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกำหนดระเบียบวิธีปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้ (ก) กำหนดมาตรการป้องกันการล่วงรู้ข้อมูลภายในระหว่างหน่วยงานและบุคลากร (Chinese wall) (ข) กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารหน่วยงานและบุคลากรอย่างชัดเจนและเป็นที่ยอมรับได้ โดยเฉพาะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง ดังนี้ ๑) การแยกหน่วยงานและบุคลากรที่มีลักษณะงานที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ออกจากกัน โดยอย่างน้อยต้องแยกหน่วยงานและบุคลากรที่มีหน้าที่ติดต่อ ชักชวนหรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้า ออกจากหน่วยงานและบุคลากรที่ตัดสินใจซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ในกรณีที่ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจัดให้มีหน่วยงานกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Unit) และ/หรือหน่วยงานควบคุมภายใน (Internal Audit) ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการให้หน่วยงานดังกล่าวมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานและมีความเป็นอิสระจากหน่วยงานอื่น ๒) การไม่มอบหมายให้บุคลากรคนหนึ่งคนใดรับผิดชอบการปฏิบัติงานตลอดกระบวนการในลักษณะที่อาจเป็นช่องทางให้เกิดการทุจริตได้ ๓) การควบคุมดูแลการซื้อขายล่วงหน้าของบุคลากร คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (๘) มีบุคลากรที่สำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่สำนักงานให้การยอมรับอย่างน้อยหนึ่งคน ข้อ ๓ ห้ามมิให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามกฎหมายไทยประกอบธุรกิจอื่นนอกเหนือจากการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ข้อ ๔ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องทำข้อตกลงเป็นหนังสือกับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าอย่างน้อยหนึ่งรายเพื่อทำการจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าให้กับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายนั้น ๆ โดยมีสาระสำคัญของข้อตกลงตามที่สำนักงานประกาศกำหนด ข้อ ๔/๑[๑๐] ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตกลงให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้ารับเงินที่ลูกค้ามีหน้าที่ต้องชำระหรือส่งแก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเพื่อใช้ในการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้า เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือเงินประกัน หรือส่งเงินที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีหน้าที่ต้องชำระหรือส่งแก่ลูกค้า ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้ามีสิทธิเรียกเก็บหรือรับเงินที่ลูกค้ามีหน้าที่ต้องชำระหรือส่งแก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจากลูกค้าเพื่อส่งมอบให้แก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า หรือส่งเงินที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีหน้าที่ต้องชำระหรือส่งแก่ลูกค้าให้แก่ลูกค้าได้ เงินที่รับจากลูกค้าหรือส่งแก่ลูกค้าตามวรรคหนึ่งต้องอยู่ในรูปของเช็คขีดคร่อมหรือแคชเชียร์เช็คธนาคาร โดยระบุชื่อบัญชีนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเพื่อประโยชน์ของลูกค้า หรือลูกค้าเป็นผู้รับเงินเท่านั้น โดยจะรับหรือส่งเป็นเงินสดไม่ได้ ข้อ ๔/๒[๑๑] เมื่อตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าได้รับเงินเพื่อใช้ในการซื้อขายล่วงหน้าจากลูกค้าแล้ว ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจัดการให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ตนมีข้อตกลงได้รับมอบเงินนั้นตามระยะเวลาที่คณะกรรมการตลาดกำหนดตามระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการวางเงินประกันระหว่างสมาชิกสำนักหักบัญชีกับผู้ใช้บริการ ข้อ ๕ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจะจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าได้ ต่อเมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ทำข้อตกลงแจ้งชื่อตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้านั้นต่อเลขาธิการ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่เลขาธิการกำหนด ข้อ ๖[๑๒] ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งเรื่องการยกเลิกข้อตกลงให้สำนักงานทราบล่วงหน้าอย่างน้อยเจ็ดวันก่อนวันยกเลิกข้อตกลง เว้นแต่กรณีมีเหตุจำเป็นและสมควรโดยได้รับความเห็นชอบจากเลขาธิการ ข้อ ๖/๑[๑๓] ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งการเริ่มและการหยุดปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าของเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าซึ่งปฏิบัติงานให้ตนต่อสำนักงาน ตามแบบและ/หรือวิธีการอื่นตามที่สำนักงานกำหนด ภายในเจ็ดวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่เริ่มหรือหยุดปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๗ ในกรณีที่มีข้อร้องเรียนจากลูกค้า ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนอย่างเต็มความสามารถ หลังจากนั้น ให้สรุปผลการดำเนินการและรายงานให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าพร้อมสำเนาให้สำนักงานทราบภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันสิ้นเดือนของทุกเดือน ข้อ ๘[๑๔] ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดเก็บเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าหรือเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าให้ครบถ้วนอย่างน้อยเป็นระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่มีเอกสารและหลักฐานนั้นหรือวันที่มีการซื้อขายล่วงหน้า แล้วแต่กรณี โดยในสองปีแรกของระยะเวลาดังกล่าวตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดเก็บเอกสารและหลักฐานดังกล่าวไว้ ณ ที่ทำการของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่พร้อมให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ตลอดเวลา เว้นแต่สำนักงานจะกำหนดเป็นอย่างอื่น ทั้งนี้ หากมีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าและการดำเนินการกับข้อร้องเรียนยังไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าวให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจัดเก็บบันทึก เอกสารและหลักฐานเกี่ยวกับการดำเนินการดังกล่าวไว้ต่อไปจนกว่าการดำเนินการกับข้อร้องเรียนจะแล้วเสร็จ การจัดเก็บเอกสารและหลักฐานดังกล่าว ให้รวมถึงข้อมูลซึ่งได้กระทำทางโทรศัพท์หรือทางระบบอื่นใดที่สามารถใช้เป็นหลักฐานได้ด้วย ข้อ ๙ ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าเรียกเก็บหรือรับค่าธรรมเนียมหรือค่าตอบแทนจากลูกค้าได้เท่าที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีสิทธิเรียกเก็บหรือรับจากลูกค้าตามที่กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกำหนด หมวด ๒ การแสดงตนเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๐ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งให้ลูกค้ารายใหม่ทราบถึงความเสี่ยงค่าใช้จ่ายและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการซื้อขายล่วงหน้า กลไกการซื้อขาย กฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สิทธิและหน้าที่ของลูกค้าอย่างถูกต้องและครบถ้วน โดยลูกค้าต้องลงลายมือชื่อเพื่อรับทราบและเข้าใจด้วย ข้อ ๑๑ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ให้ข้อมูลอันเป็นเท็จเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่และภาระผูกพันของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้าหรือบุคคลทั่วไป หรือแสดงตนเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับการค้ำประกันหรือการรับรองจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือสำนักงาน เว้นแต่เป็นการแสดงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๒ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี้ (๑) รับรองผลตอบแทนจากการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้า (๒) รับประกันความเสียหายหรือผลขาดทุนที่เกิดจากการซื้อขายล่วงหน้า (๓) รับรองว่าจะไม่เรียกเก็บเงินประกันขั้นต่ำหรือเรียกเงินประกันเพิ่มเติม (๔) กล่าวอ้าง รับรองหรือสัญญาใด ๆ อันมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับ (๑) (๒) และ (๓) ข้อ ๑๓ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ทำสัญญาใด ๆ เพื่อยกเลิกหรือจำกัดความรับผิดของตนเองที่มีหน้าที่ต้องปฏิบัติต่อลูกค้าตามที่พระราชบัญญัติ และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกำหนด ข้อ ๑๔ ในกรณีที่ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าถูกพักใช้หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ห้ามแสดงตนเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต่อลูกค้าหรือบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งเหตุตามวรรคหนึ่งให้ลูกค้าทราบโดยไม่ชักช้า โดยให้ลูกค้าติดต่อโดยตรงกับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลง หมวด ๓ การจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้า ข้อ ๑๕ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจะต้องจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าให้แก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลงเท่านั้น ข้อ ๑๖ ในการจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจัดให้มีเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด และต้องตรวจสอบดูแลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้านั้นด้วย ข้อ ๑๗ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการตามสมควรเพื่อแสดงข้อมูลและหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรตามความเป็นจริง โดยอย่างน้อยให้ลูกค้าทราบถึงบทบาท หน้าที่และธุรกิจของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า สถานที่และหมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้ รวมถึงนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลงและองค์กรกำกับดูแลธุรกิจของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๘ การขอเปิดบัญชีซื้อขายล่วงหน้าและการทำสัญญาระหว่างนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ากับลูกค้า ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจะต้องมั่นใจว่า (๑) ได้รับข้อมูลหรือเอกสารหรือหลักฐานเพียงพอที่แสดงอย่างชัดเจนถึงความประสงค์ของลูกค้าในการซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการประกันความเสี่ยง และ/หรือเพื่อการเก็งกำไร ความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า การประกอบอาชีพของลูกค้า ฐานะทางการเงิน ข้อจำกัดในการซื้อขายของลูกค้าและความสามารถในการวางเงินประกันและชำระหนี้ของลูกค้า (๒) ลูกค้าเป็นบุคคลเดียวกับที่ปรากฏตามเอกสารและหลักฐานที่ใช้ประกอบการขอเปิดบัญชีซื้อขายล่วงหน้าข้างต้น ข้อ ๑๘/๑[๑๕] ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าของลูกค้ามีลักษณะผิดปกติหรืออาจเข้าข่ายการซื้อขายที่ไม่เหมาะสมหรือผิดกฎหมาย ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าตรวจสอบคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าก่อน และหากพบสิ่งผิดปกติกับคำสั่งดังกล่าว ห้ามมิให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าส่งคำสั่งดังกล่าวไปยังนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ทำข้อตกลงกัน ข้อ ๑๙ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องตรวจสอบว่าบุคคลที่ส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าเป็นเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริง หรือเป็นบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริงเท่านั้น ข้อ ๒๐ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าของลูกค้าให้กับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลงโดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ทั้งนี้ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องคำนึงถึงประโยชน์ของลูกค้าก่อนประโยชน์ของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า โดยต้องส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าเพื่อลูกค้าก่อนตนเอง ข้อ ๒๑ การส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าไปยังนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลงต้องเป็นไปตามคำสั่งของลูกค้าที่เป็นเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริงหรือบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริง และต้องไม่ใช้บัญชีซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้ารายหนึ่งส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าเพื่อลูกค้ารายอื่นที่ไม่ใช่เจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริง ข้อ ๒๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ วัฒนา เมืองสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๑๖] ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓)[๑๗] ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๑๘] ข้อ ๙ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใดๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕)[๑๙] ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖)[๒๐] ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว อุษมล/ผู้จัดทำ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ ณัฐพร/ผู้ตรวจ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๙๙/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๒] ข้อ ๑ นิยามคำว่า “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓] ข้อ ๑ นิยามคำว่า “ประสบการณ์ในการทำงาน” ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๔] ข้อ ๑ นิยามคำว่า “ส่วนของผู้ถือหุ้น” ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๕] ข้อ ๑ นิยามคำว่า “พระราชบัญญัติ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๖] ข้อ ๒ (๒) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๗] ข้อ ๒ (๔) ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๘] ข้อ ๒ (๕) ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) [๙] ข้อ ๒ (๖) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) [๑๐] ข้อ ๔/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๑] ข้อ ๔/๒ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๒] ข้อ ๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๓] ข้อ ๖/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๔] ข้อ ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๑๕] ข้อ ๑๘/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๖] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๒๐๘/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๑๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๒๑๕/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๑๘] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๒๑๙/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๑๙] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๓๔/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓ [๒๐] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๓๒/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
731322
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 5/2549 เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับ Update ล่าสุด)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า[๑] โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปฏิบัติให้แล้วเสร็จ ก่อนที่เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจดังกล่าว อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖๙ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๗ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “ข้อตกลง” หมายความว่า ข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ “โอนข้อตกลง” หมายความว่า โอนสิทธิและภาระผูกพันที่เกิดจากข้อตกลงที่ยังไม่ได้ล้างฐานะการถือครอง เงินสด หลักทรัพย์ หลักประกันและทรัพย์สิน รวมถึงเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงนั้นให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายอื่นรับไปดำเนินการต่อไป “ล้างฐานะการถือครอง” หมายความว่า ทำให้สิทธิและภาระผูกพันตามข้อตกลงที่มีอยู่เดิมหมดไป ด้วยการซื้อล่วงหน้าหรือขายล่วงหน้าขึ้นใหม่ที่มีผลในทางตรงกันข้าม (offset) “กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ข้อกำหนด มติและหนังสือเวียนที่ออกโดยคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือสำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ข้อ ๓ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทดังกล่าว พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตต่อเลขาธิการ ณ สำนักงาน ตามแบบคำขออนุญาตที่สำนักงานกำหนด ทั้งนี้ ให้สำเนาคำขอแจ้งตลาดทราบด้วย ข้อ ๔ เมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าได้ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๓ แล้ว ให้ดำเนินการ ดังนี้ (๑) ยุติการซื้อขายหรือรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้านับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่จะเป็นการซื้อขายเพื่อล้างฐานะการถือครอง (๒) แจ้งเป็นหนังสือโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือวิธีอื่นใดที่มีหลักฐานการตอบรับตามที่สำนักงานเห็นชอบให้ลูกค้าทุกรายของผู้ยื่นคำขออนุญาตทราบ ทั้งนี้ ภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๓)[๒] ปิดประกาศเป็นหนังสือแจ้งการขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการทุกแห่งของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้านั้นภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าจนถึงวันที่เลขาธิการอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๔) ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับ ภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาต (๕) สอบถามความประสงค์ของลูกค้าทุกรายว่าต้องการล้างฐานะการถือครองหรือต้องการโอนข้อตกลงไปยังนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายใด โดยให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจดังกล่าวดำเนินการให้เป็นไปตามความประสงค์ของลูกค้าและเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการโอนข้อตกลง (๖) จัดให้มีการส่งมอบหรือรับมอบจนแล้วเสร็จ ในกรณีที่ข้อตกลงของลูกค้ารายใดมีภาระการส่งมอบหรือรับมอบ (๗)[๓] ปิดบัญชีซื้อขายของลูกค้าแต่ละราย พร้อมทั้งคืนเงินสด หลักทรัพย์ หลักประกันหรือทรัพย์สินที่ยังเหลืออยู่ให้แก่ลูกค้าแต่ละราย (ถ้ามี) ภายในหกสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจดังกล่าว (๘) รายงานผลการดำเนินการเพื่อเลิกการประกอบธุรกิจดังกล่าวให้สำนักงานและตลาดทราบตามกำหนดระยะเวลาและแบบที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๕ ภายหลังจากที่ได้ยื่นคำขอเลิกประกอบธุรกิจตามข้อ ๔ แล้ว ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าได้รับยกเว้นการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) คุณสมบัติของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ต้องมีตลอดระยะเวลาของการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ก) สัดส่วนการถือหุ้นโดยผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนที่ออกและชำระแล้ว (ข) ผู้บริหารที่ทำหน้าที่ในการบริหารจัดการและควบคุมดูแลการปฏิบัติงานประจำวัน (ค) พนักงานที่สำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าให้การรับรองอย่างน้อยห้าคน (๒) ระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า โดยนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องแสดงให้เห็นว่าไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์แต่ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการจัดเก็บเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า และการดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนของลูกค้า (๓) การจัดให้มีบุคลากรที่ทำหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Officer) และบุคลากรที่ทำหน้าที่ควบคุมภายใน (Internal Audit) ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแสดงให้เห็นว่าไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (๔) การแจ้งการเริ่มและการหยุดปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานหรือบุคลากรของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๕) การแจ้งการเข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่สำนักงานยอมรับของพนักงานหรือบุคลากรของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เฉพาะกรณีที่พนักงานหรือบุคลากรนั้นใช้คุณสมบัติผ่านการทดสอบหลักสูตรจากสำนักงาน ในการขึ้นทะเบียนเป็นเจ้าหน้าที่การตลาดหรือเจ้าหน้าที่ติดต่อลูกค้าหรือบุคลากรอื่นใดที่สำนักงานกำหนด (๖) การแจ้งข้อมูลของบุคคลที่เข้าเกณฑ์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๗) การชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายปี (กรณีที่ค่าธรรมเนียมถึงกำหนดชำระแล้ว) (๘) การดำรงทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและชำระแล้ว การดำรงฐานะทางการเงิน และการจัดทำและจัดส่งรายงานฐานะทางการเงินของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสามารถแสดงได้ว่ามีฐานะทางการเงินเพียงพอที่จะรองรับความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากธุรกรรมการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้าหรือตนเอง (๙) การจัดทำและการจัดส่งงบการเงิน ข้อ ๖[๔] เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ต่อเมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๑) ไม่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันใด ๆ ต่อลูกค้าหรือได้ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างเพียงพอและเหมาะสมแล้ว และ (๒) พ้นจากการเป็นสมาชิกภาพของตลาดแล้ว ในการพิจารณาอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการอาจกำหนดเงื่อนไขในการเลิกประกอบธุรกิจก็ได้ ข้อ ๖/๑[๕] เมื่อตลาดหยุดการดำเนินการซื้อขายล่วงหน้าเป็นการทั่วไปแล้ว เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ต่อเมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าไม่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันใด ๆ ต่อลูกค้าหรือได้ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างเพียงพอและเหมาะสมแล้ว ในการพิจารณาอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการอาจกำหนดเงื่อนไขในการเลิกประกอบธุรกิจก็ได้ ข้อ ๗ นอกจากที่ระบุไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้สำนักงานมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่กำหนดในประกาศนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติและเพื่อความสะดวกในการตรวจสอบการปฏิบัตินั้นได้ ข้อ ๘ การยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๗ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกยกเลิกดังกล่าว ทั้งนี้ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ การุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ผู้ใช้อำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๖] ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๗] ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป วริญา/ผู้จัดทำ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ ปุณิกา/เพิ่มเติม ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๐๑/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๒] ข้อ ๔ (๓) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๓] ข้อ ๔ (๗) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๔] ข้อ ๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๕] ข้อ ๖/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๖] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง/หน้า ๒/๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ [๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙ ง/หน้า ๕/๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
750899
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 1/2549 เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับ Update ล่าสุด)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๙ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๐ วรรคสอง และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๗ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า” [๒] หมายความว่า ค่าธรรมเนียมที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเรียกเก็บจากลูกค้าจากการให้บริการใด ๆ เพื่อทำการซื้อขายล่วงหน้าแทนลูกค้า ดังต่อไปนี้ (๑) การรับและส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้า (Trading/Execution) (๒) การแลกฐานะการถือครองข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้ากับสัญญาซื้อขายสินค้านอกตลาด (Exchange of Futures for Physicals : EFP) (๓) การชำระราคาส่วนต่างด้วยเงินแทนการส่งมอบหรือรับมอบ (Cash Settlement) (๔) การหักบัญชี (Clearing) หรือ (๕) การรับมอบหรือการส่งมอบสินค้าเกษตร (Delivery) “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “บริษัท” [๓] หมายความว่า บริษัท ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) “สมาชิก”[๔] (ยกเลิก) “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “ข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้า” [๕] หมายความว่า ข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๓[๖] กำหนดค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเพื่อทำการซื้อขายล่วงหน้าแทนลูกค้าตามบทนิยามของข้อ ๒ ในอัตราดังต่อไปนี้ (๑) อัตราขั้นต่ำสุด ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๐.๐๑ ของมูลค่าการซื้อหรือขายล่วงหน้าที่ให้บริการ (๒) อัตราขั้นสูงสุด ต้องไม่เกินร้อยละ ๐.๕๐ ของมูลค่าการซื้อหรือขายล่วงหน้าที่ให้บริการหรือไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาทต่อหนึ่งข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าที่จับคู่ได้ แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า อัตราขั้นต่ำสุดเท่ากับร้อยละ ๐.๐๐ ของมูลค่าการซื้อหรือขายที่ให้บริการ เฉพาะในกรณีที่ลูกค้าล้างฐานะการถือครองในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทยและเปิดฐานะการถือครองสัญญาซื้อขายล่วงหน้ายางแผ่นรมควันชั้น ๓ (RSS3 futures) ขึ้นใหม่ในบริษัท ในสัดส่วนเดียวกันผ่านนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้ารายเดียวกันเท่านั้น ภายในระยะเวลาสิบห้าวันทำการซื้อขายแรกของสัญญาซื้อขายล่วงหน้ายางแผ่นรมควันชั้น ๓ (RSS3 futures) ในบริษัท[๗] ข้อ ๔[๘] เพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าและสอดคล้องกับสภาพการแข่งขันโดยทั่วไป สำนักงานอาจกำหนดให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเรียกเก็บค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเป็นจำนวนเงินบาทภายในอัตราร้อยละที่กำหนดในข้อ ๓ ก็ได้ โดยคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ระยะเวลาที่เหมาะสม ประเภทและชนิดของสินค้า รูปแบบการซื้อขายล่วงหน้าหรือประเภทของลูกค้า เป็นต้น ข้อ ๕ ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่เรียกเก็บจากลูกค้าเป็นอัตราที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง และค่าใช้จ่ายอื่น ข้อ ๖[๙] ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจัดเก็บข้อมูล เอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจากลูกค้าไว้ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และสะดวกต่อการตรวจสอบ ข้อ ๗ ห้ามมิให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจ่ายเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดให้แก่ลูกค้าเนื่องจากการติดต่อซื้อหรือขายล่วงหน้าของลูกค้ากับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งมิได้เป็นไปในการบริการลูกค้าโดยปกติ ข้อ ๘[๑๐] (ยกเลิก) ข้อ ๙ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๑๑] ข้อ ๖ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๙ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๗ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๙/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓)[๑๒] ข้อ ๖ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๙ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๗ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๙ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๑๓] ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ปุณิกา/จัดทำ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๘๐/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๒] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า” แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๓] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “บริษัท” เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๙ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๔] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “สมาชิก” ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๕] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “ข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้า” เพิ่มประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๙/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๖] ข้อ ๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๙/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๗] ข้อ ๓ วรรคสอง เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๙ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๘] ข้อ ๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๙/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๙] ข้อ ๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๙/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๑๐] ข้อ ๘ ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๒๑/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๑๒] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๔๕/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๑๓] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙ ง/หน้า ๔/๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
744631
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 2/2559 เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงเงื่อนไขบางประการเกี่ยวกับการเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อให้การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีความเหมาะสมยิ่งขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๖๙ วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๖ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๖ เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ต่อเมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๑) ไม่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันใด ๆ ต่อลูกค้าหรือได้ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างเพียงพอและเหมาะสมแล้ว และ (๒) พ้นจากการเป็นสมาชิกภาพของตลาดแล้ว ในการพิจารณาอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการอาจกำหนดเงื่อนไขในการเลิกประกอบธุรกิจก็ได้” ข้อ ๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๖/๑ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ “ข้อ ๖/๑ เมื่อตลาดหยุดการดำเนินการซื้อขายล่วงหน้าเป็นการทั่วไปแล้ว เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ต่อเมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าไม่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันใด ๆ ต่อลูกค้าหรือได้ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างเพียงพอและเหมาะสมแล้ว ในการพิจารณาอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการอาจกำหนดเงื่อนไขในการเลิกประกอบธุรกิจก็ได้” ข้อ ๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ อภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/จัดทำ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ปุณิกา/ตรวจ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙ ง/หน้า ๕/๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
744628
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 1/2559 เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๙ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) โดยที่เป็นการสมควรกำหนดค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสำหรับใช้บังคับในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อลดภาระให้แก่ลูกค้าและส่งเสริมให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีโอกาสเพิ่มขึ้นในการรักษาฐานลูกค้าปัจจุบันของตนเองไว้ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๐ วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มบทนิยามคำว่า “บริษัท” ระหว่างบทนิยามคำว่า “ตลาด” และคำว่า “สำนักงาน” ในข้อ ๒ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๙ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ““บริษัท” หมายความว่า บริษัท ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)” ข้อ ๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ ๓ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๙ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๙/๒๕๕๑ เรื่อง ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ “อัตราขั้นต่ำสุดเท่ากับร้อยละ ๐.๐๐ ของมูลค่าการซื้อหรือขายที่ให้บริการ เฉพาะในกรณีที่ลูกค้าล้างฐานะการถือครองในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทยและเปิดฐานะการถือครองสัญญาซื้อขายล่วงหน้ายางแผ่นรมควันชั้น ๓ (RSS3 futures) ขึ้นใหม่ในบริษัท ในสัดส่วนเดียวกันผ่านนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้ารายเดียวกันเท่านั้น ภายในระยะเวลาสิบห้าวันทำการซื้อขายแรกของสัญญาซื้อขายล่วงหน้ายางแผ่นรมควันชั้น ๓ (RSS3 futures) ในบริษัท” ข้อ ๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ อภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/จัดทำ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ปุณิกา/ตรวจ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙ ง/หน้า ๔/๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
750901
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 5/2549 เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า[๑] โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปฏิบัติให้แล้วเสร็จ ก่อนที่เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจดังกล่าว อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖๙ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๗ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “ข้อตกลง” หมายความว่า ข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ “โอนข้อตกลง” หมายความว่า โอนสิทธิและภาระผูกพันที่เกิดจากข้อตกลงที่ยังไม่ได้ล้างฐานะการถือครอง เงินสด หลักทรัพย์ หลักประกันและทรัพย์สิน รวมถึงเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงนั้นให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายอื่นรับไปดำเนินการต่อไป “ล้างฐานะการถือครอง” หมายความว่า ทำให้สิทธิและภาระผูกพันตามข้อตกลงที่มีอยู่เดิมหมดไป ด้วยการซื้อล่วงหน้าหรือขายล่วงหน้าขึ้นใหม่ที่มีผลในทางตรงกันข้าม (offset) “กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ข้อกำหนด มติและหนังสือเวียนที่ออกโดยคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า หรือสำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ข้อ ๓ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทดังกล่าว พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตต่อเลขาธิการ ณ สำนักงาน ตามแบบคำขออนุญาตที่สำนักงานกำหนด ทั้งนี้ ให้สำเนาคำขอแจ้งตลาดทราบด้วย ข้อ ๔ เมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าได้ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๓ แล้ว ให้ดำเนินการ ดังนี้ (๑) ยุติการซื้อขายหรือรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้านับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่จะเป็นการซื้อขายเพื่อล้างฐานะการถือครอง (๒) แจ้งเป็นหนังสือโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือวิธีอื่นใดที่มีหลักฐานการตอบรับตามที่สำนักงานเห็นชอบให้ลูกค้าทุกรายของผู้ยื่นคำขออนุญาตทราบ ทั้งนี้ ภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (๓)[๒] ปิดประกาศเป็นหนังสือแจ้งการขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการทุกแห่งของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้านั้นภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าจนถึงวันที่เลขาธิการอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๔) ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับ ภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาต (๕) สอบถามความประสงค์ของลูกค้าทุกรายว่าต้องการล้างฐานะการถือครองหรือต้องการโอนข้อตกลงไปยังนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายใด โดยให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจดังกล่าวดำเนินการให้เป็นไปตามความประสงค์ของลูกค้าและเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการโอนข้อตกลง (๖) จัดให้มีการส่งมอบหรือรับมอบจนแล้วเสร็จ ในกรณีที่ข้อตกลงของลูกค้ารายใดมีภาระการส่งมอบหรือรับมอบ (๗)[๓] ปิดบัญชีซื้อขายของลูกค้าแต่ละราย พร้อมทั้งคืนเงินสด หลักทรัพย์ หลักประกันหรือทรัพย์สินที่ยังเหลืออยู่ให้แก่ลูกค้าแต่ละราย (ถ้ามี) ภายในหกสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจดังกล่าว (๘) รายงานผลการดำเนินการเพื่อเลิกการประกอบธุรกิจดังกล่าวให้สำนักงานและตลาดทราบตามกำหนดระยะเวลาและแบบที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๕ ภายหลังจากที่ได้ยื่นคำขอเลิกประกอบธุรกิจตามข้อ ๔ แล้ว ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าได้รับยกเว้นการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) คุณสมบัติของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ต้องมีตลอดระยะเวลาของการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ก) สัดส่วนการถือหุ้นโดยผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนที่ออกและชำระแล้ว (ข) ผู้บริหารที่ทำหน้าที่ในการบริหารจัดการและควบคุมดูแลการปฏิบัติงานประจำวัน (ค) พนักงานที่สำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าให้การรับรองอย่างน้อยห้าคน (๒) ระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า โดยนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องแสดงให้เห็นว่าไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์แต่ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการจัดเก็บเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า และการดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนของลูกค้า (๓) การจัดให้มีบุคลากรที่ทำหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Officer) และบุคลากรที่ทำหน้าที่ควบคุมภายใน (Internal Audit) ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแสดงให้เห็นว่าไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (๔) การแจ้งการเริ่มและการหยุดปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานหรือบุคลากรของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๕) การแจ้งการเข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่สำนักงานยอมรับของพนักงานหรือบุคลากรของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เฉพาะกรณีที่พนักงานหรือบุคลากรนั้นใช้คุณสมบัติผ่านการทดสอบหลักสูตรจากสำนักงาน ในการขึ้นทะเบียนเป็นเจ้าหน้าที่การตลาดหรือเจ้าหน้าที่ติดต่อลูกค้าหรือบุคลากรอื่นใดที่สำนักงานกำหนด (๖) การแจ้งข้อมูลของบุคคลที่เข้าเกณฑ์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๗) การชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายปี (กรณีที่ค่าธรรมเนียมถึงกำหนดชำระแล้ว) (๘) การดำรงทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและชำระแล้ว การดำรงฐานะทางการเงิน และการจัดทำและจัดส่งรายงานฐานะทางการเงินของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสามารถแสดงได้ว่ามีฐานะทางการเงินเพียงพอที่จะรองรับความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากธุรกรรมการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้าหรือตนเอง (๙) การจัดทำและการจัดส่งงบการเงิน ข้อ ๖ เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อเมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจดังกล่าวไม่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันใด ๆ ต่อลูกค้าหรือได้ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างเพียงพอและเหมาะสมแล้วและพ้นจากการเป็นสมาชิกภาพของตลาดแล้ว[๔] ในการพิจารณาอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการอาจกำหนดเงื่อนไขในการเลิกประกอบธุรกิจก็ได้ ข้อ ๗ นอกจากที่ระบุไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้สำนักงานมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่กำหนดในประกาศนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติและเพื่อความสะดวกในการตรวจสอบการปฏิบัตินั้นได้ ข้อ ๘ การยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๗ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกยกเลิกดังกล่าว ทั้งนี้ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ การุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ผู้ใช้อำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๕] ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป วริญา/ผู้จัดทำ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๐๑/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๒] ข้อ ๔ (๓) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๓] ข้อ ๔ (๗) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๔] ข้อ ๖ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๕] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง/หน้า ๒/๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘
738988
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 3/2558 เรื่อง การอนุญาตให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด หรือเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๘ เรื่อง การอนุญาตให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด หรือเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด โดยที่เป็นการสมควรส่งเสริมการประกอบธุรกิจของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ให้สามารถซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเองหรือประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า อันสืบเนื่องจากการรวมตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทยกับบริษัท ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ต่อเนื่องไป โดยการอนุญาตให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าสามารถซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาดหรือเป็นนายหน้าเพื่อซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๑๑๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “คณะกรรมการ ก.ล.ต.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ ๒ อนุญาตให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาดหรือเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาด ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการกำกับตลาดทุนหรือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำหนด ในกรณีที่เป็นการซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาดหรือเป็นนายหน้าหรือตัวแทน เพื่อซื้อหรือขายล่วงหน้านอกตลาดซึ่งสินค้าเกษตร ให้อนุญาตนับแต่วันที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกำหนดให้สินค้าเกษตรเป็นสินค้าหรือตัวแปรตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ อภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/กัญฑรัตน์/จัดทำ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ /ตรวจ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๒๗๘ ง/หน้า ๒๐/๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
729942
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 2/2558 เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๘ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อลดความซ้ำซ้อนในการดำเนินงานเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตหรือจดทะเบียนประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘/๑ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๘/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๘/๑ มิให้นำความในข้อ ๓ (๓) ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ มาใช้บังคับแก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตหรือจดทะเบียนประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด” ข้อ ๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๘ วริญา/ผู้ตรวจ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง/หน้า ๔/๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘
729940
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 1/2558 เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๘ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงเงื่อนไขบางประการเกี่ยวกับการเลิกประกอบธุรกิจ การซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อให้การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีความเหมาะสมยิ่งขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๖๙ วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๓) ปิดประกาศเป็นหนังสือแจ้งการขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการทุกแห่งของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้านั้นภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าจนถึงวันที่เลขาธิการอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความใน (๗) ของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๗) ปิดบัญชีซื้อขายของลูกค้าแต่ละราย พร้อมทั้งคืนเงินสด หลักทรัพย์ หลักประกันหรือทรัพย์สินที่ยังเหลืออยู่ให้แก่ลูกค้าแต่ละราย (ถ้ามี) ภายในหกสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจดังกล่าว” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ ๖ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๙ เรื่อง การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “เลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อเมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจดังกล่าวไม่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันใด ๆ ต่อลูกค้าหรือได้ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างเพียงพอและเหมาะสมแล้วและพ้นจากการเป็นสมาชิกภาพของตลาดแล้ว” ข้อ ๔[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๘ วริญา/ผู้ตรวจ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง/หน้า ๒/๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘
718079
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ 3/2557 เรื่อง การยกเว้นค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายปีตามปีปฏิทิน
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๓/๒๕๕๗ เรื่อง การยกเว้นค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เป็นรายปีตามปีปฏิทิน โดยที่เป็นการสมควรลดต้นทุนการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เพื่อกระตุ้นการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าในสภาวะตลาดปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายปีตามปีปฏิทิน พ.ศ. ๒๕๕๘ และ พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๖ เรื่อง การกำหนดค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายปีตามปีปฏิทิน ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[๑] ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ภีราพร/ผู้ตรวจ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๓๙ ง/หน้า ๑๙/๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
718077
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ 2/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้านอกสถานที่ทำการที่ได้รับหรืออาจได้รับผลกระทบของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๒/๒๕๕๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้า จากลูกค้านอกสถานที่ทำการที่ได้รับหรืออาจได้รับผลกระทบ ของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับผลกระทบหรืออาจได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์จำเป็นรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้านอกสถานที่ทำการได้เมื่อได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าและให้การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าและตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ข้อ ๒ เมื่อมีเหตุการณ์จำเป็นซึ่งส่งผลกระทบหรืออาจส่งผลกระทบต่อการให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้า ณ สถานที่ทำการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หากผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประสงค์จะให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้านอกสถานที่ทำการ ให้ยื่นคำขออนุญาตตามแบบคำขออนุญาตที่เลขาธิการกำหนด โดยยื่นต่อเลขาธิการ ณ สำนักงาน การขออนุญาตตามวรรคหนึ่งหรือการแจ้งผลการพิจารณาของเลขาธิการ หากเป็นกรณีเร่งด่วนที่ไม่อาจขออนุญาตตามแบบคำขออนุญาตหรือแจ้งผลการพิจารณาเป็นหนังสือ อาจกระทำด้วยวาจาก็ได้แล้วให้ทำบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ทั้งนี้ ให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้านอกสถานที่ทำการต่อเลขาธิการในโอกาสแรกที่สามารถกระทำได้ โดยให้ใช้แบบคำขออนุญาตตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม ข้อ ๓ เมื่อได้รับอนุญาตจากเลขาธิการแล้ว ให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้านอกสถานที่ทำการที่ได้รับผลกระทบโดยวิธีใด ๆ ให้ลูกค้าทราบล่วงหน้าอย่างน้อยหนึ่งวันทำการก่อนวันที่เริ่มให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้านอกสถานที่ทำการที่ได้รับผลกระทบ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นให้แจ้งลูกค้าทราบภายในวันที่เริ่มให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้านอกสถานที่ทำการที่ได้รับผลกระทบ ประกอบด้วยที่ตั้งของสถานที่ที่รับหรือจะรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้า เบอร์โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้ วันและเวลาที่จะรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าเป็นอย่างน้อย (๒) ประกาศข้อมูลตาม (๑) ไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการที่ได้รับผลกระทบ รวมถึงสำนักงานแห่งใหญ่ ตลอดระยะเวลาที่ให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้านอกสถานที่ทำการที่ได้รับผลกระทบ (๓) ไม่ให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าในสถานที่ทำการที่ได้รับผลกระทบตลอดระยะเวลาที่ให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้านอกสถานที่ทำการ ที่ได้รับผลกระทบ ข้อ ๔ หากเหตุการณ์จำเป็นนั้นสิ้นสุดลง และ (๑) ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าสามารถรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าในสถานที่ทำการได้แล้ว หรือ (๒) สำนักงานสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้ารับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าในสถานที่ทำการ ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งโดยวิธีใด ๆ ให้ลูกค้าทราบทันทีและแจ้งการดำเนินการดังกล่าวเป็นหนังสือให้สำนักงานทราบภายในวันที่เริ่มรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าในสถานที่ทำการ ข้อ ๕ เพื่อประโยชน์ในการให้บริการรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าตามประกาศนี้สำนักงานอาจอนุญาตให้ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าปฏิบัติในเรื่องที่กำหนดตามข้อ ๓ หรือข้อ ๔ ตามความจำเป็นและเหมาะสมก็ได้ การแจ้งอนุญาตหรือไม่อนุญาตตามวรรคหนึ่งอาจกระทำด้วยวาจาก็ได้ แล้วให้ทำบันทึกการแจ้งไว้เป็นหลักฐาน ข้อ ๖ ให้สำนักงานรายงานการปฏิบัติตามประกาศนี้ต่อคณะกรรมการ ก.ส.ล. ข้อ ๗[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ภีราพร/ผู้ตรวจ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๓๙ ง/หน้า ๑๗/๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
718075
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ 1/2557 เรื่อง การกำหนดลักษณะการจัดการเงินทุนที่ไม่ต้องขอรับอนุญาต
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๗ เรื่อง การกำหนดลักษณะการจัดการเงินทุนที่ไม่ต้องขอรับอนุญาต โดยที่เป็นการสมควรกำหนดลักษณะการจัดการเงินทุนที่ไม่ต้องขอรับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า เพื่ออำนวยความสะดวกและจูงใจให้ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทการเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ประเภทการจัดการกองทุนรวมและการจัดการกองทุนส่วนบุคคลเข้ามาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงกำหนดให้การจัดการเงินทุนที่เป็นกองทุนรวมและกองทุนส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่ได้ดำเนินการโดยนิติบุคคลภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ เป็นการจัดการเงินทุนที่ไม่ต้องขอรับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (๑) ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ประเภทการจัดการกองทุนรวมหรือการจัดการกองทุนส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๕ (๒) ได้รับใบอนุญาตหรือได้รับการจดทะเบียนให้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทการเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๖ และ (๓) เข้ามาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทยตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมหรือกองทุนส่วนบุคคลที่พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนด ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[๑] ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ภีราพร/ผู้ตรวจ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๓๙ ง/หน้า ๑๖/๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
718073
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 1/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต การอนุญาตและการเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสำหรับผู้อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกัน
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต การอนุญาตและการเลิก ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกัน โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต การอนุญาตและการเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกัน เพื่อส่งเสริมความต่อเนื่องในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามสถานการณ์ปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) (๒) (๓) มาตรา ๓๒ และมาตรา ๖๙ วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๒๗ (๒) (ค) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบัน” หมายความว่า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งเป็นผู้อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกันประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อเนื่องไป “กลุ่มนิติบุคคลเดียวกัน” หมายความว่า กลุ่มของนิติบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกันในโครงสร้างการถือหุ้น โดยนิติบุคคลในกลุ่มทุกรายมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในลักษณะเป็นบริษัทใหญ่หรือบริษัทย่อยหรือนิติบุคคลในกลุ่มมีผู้ถือหุ้นเป็นนิติบุคคลรายเดียวกัน ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมมีจำนวนหรือรวมกันเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น “บริษัทใหญ่” หมายความว่า (ก) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ถือหุ้นในผู้ขอรับใบอนุญาตเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ถือหุ้นในบริษัทตาม (ก) เกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น (ค) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ถือหุ้นในบริษัทอื่นต่อไปเป็นทอด ๆ โดยเริ่มจากบริษัทที่ถือหุ้นในบริษัทตาม (ข) ซึ่งในแต่ละทอดมีจำนวนเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่นนั้น หรือ (ง) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ถือหุ้นในผู้ขอรับใบอนุญาตไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมมีจำนวนหรือรวมกันเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของผู้ขอรับใบอนุญาต “บริษัทย่อย” หมายความว่า (ก) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่มีบริษัทใหญ่ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น (ข) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่มีบริษัทตาม (ก) ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น (ค) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่มีบริษัทอื่นถือหุ้นต่อไปเป็นทอด ๆ โดยเริ่มจากบริษัทที่มีบริษัทตาม (ข) ถือหุ้น ซึ่งการถือหุ้นของบริษัทอื่นในแต่ละทอดมีจำนวนเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น หรือ (ง) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่มีบริษัทใหญ่หรือบริษัทอื่นตาม (ก) (ข) หรือ (ค) ถือหุ้นไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม มีจำนวนหรือรวมกันเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อำนวยการฝ่าย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า การปฏิบัติการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือการวิจัยด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือสายงานอื่นในทำนองเดียวกัน “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “พระราชบัญญัติ” หมายความว่า พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ “ข้อตกลง” หมายความว่า ข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ “โอนข้อตกลง” หมายความว่า โอนสิทธิและภาระผูกพันที่เกิดจากข้อตกลงที่ยังไม่ได้ล้างฐานะการถือครอง เงินสด หลักทรัพย์ หลักประกันและทรัพย์สิน รวมถึงเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงนั้นให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายอื่นรับไปดำเนินการต่อไป “ล้างฐานะการถือครอง” หมายความว่า ทำให้สิทธิและภาระผูกพันตามข้อตกลงที่มีอยู่เดิมหมดไปด้วยการซื้อล่วงหน้าหรือขายล่วงหน้าขึ้นใหม่ที่มีผลในทางตรงกันข้าม (offset) ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับแก่ (๑) ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อเนื่องจากนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันซึ่งเป็นผู้อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกัน (๒) นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบัน หมวด ๑ การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ส่วนที่ ๑ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ข้อ ๔ ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามประกาศนี้ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (๒) มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ (๓) อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกันกับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบัน (๔) มีพนักงานที่สำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองอย่างน้อยหนึ่งคน (๕) มีแผนธุรกิจ (Business Plan) โดยให้ความสำคัญกับการหาลูกค้าและการเพิ่มจำนวนลูกค้า (๖) ไม่มีลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและมีบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม ทั้งนี้ ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตดังกล่าวต้องมีหนังสือรับรองว่า จะมีระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามที่สำนักงานกำหนดโดยจะใช้ระบบงานและบุคลากรของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบัน ข้อ ๕ หากผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๔ ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้วต้องมีคุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ประกอบธุรกิจอื่นที่มีลักษณะครบถ้วน ดังต่อไปนี้ (ก) มีระบบการบริหารความเสี่ยงอย่างเพียงพอซึ่งจะไม่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ข) มีระบบในการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าอย่างเพียงพอ (ค) เป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทใดประเภทหนึ่งโดยสนับสนุนให้การบริการมีความสมบูรณ์และครบวงจรยิ่งขึ้น หรือเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ของผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตให้เกิดประโยชน์ยิ่งขึ้น (๒) ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ ทั้งนี้ หากประกอบธุรกิจอื่นด้วยธุรกิจอื่นนั้นจะต้องมีระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในทำนองเดียวกันกับที่กำหนดไว้ตาม (๑) (ก) และ (ข) ข้อ ๖ ให้ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ายื่นคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทดังกล่าว พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตตามแบบคำขออนุญาตที่สำนักงานกำหนด โดยยื่นต่อเลขาธิการ ณ สำนักงาน ข้อ ๗ ให้เลขาธิการพิจารณาคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าและเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาต และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับคำขออนุญาต พร้อมเอกสารและหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน ในกรณีที่เลขาธิการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้เลขาธิการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่แจ้งการอนุญาต ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ใช้ได้เฉพาะตัวจะโอนกันไม่ได้ ส่วนที่ ๒ เงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๘ ผู้ได้รับใบอนุญาตจะเริ่มให้บริการแก่ลูกค้าได้ต่อเมื่อ (๑) ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. และสำนักงานกำหนดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแล้วโดยผู้ได้รับใบอนุญาตต้องพร้อมให้สำนักงานตรวจสอบการดำเนินการดังกล่าวภายในเก้าสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า และได้รับความเห็นชอบการดำเนินการดังกล่าวจากสำนักงานแล้ว ทั้งนี้ หากสำนักงานตรวจสอบแล้วเห็นว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตยังมิได้ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. และสำนักงานกำหนด เลขาธิการอาจสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตดำเนินการใดตามที่เห็นสมควร (๒) ผ่านเกณฑ์การตรวจความพร้อมในการเป็นสมาชิกตลาดและสมาชิกสำนักหักบัญชีภายในเก้าสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ในกรณีมีเหตุจำเป็นและสมควร ผู้ได้รับใบอนุญาตอาจขอขยายระยะเวลาตาม (๑) หรือ (๒) ได้อีกเก้าสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ครบกำหนดระยะเวลาดังกล่าว โดยต้องขอขยายระยะเวลาต่อเลขาธิการก่อนระยะเวลานั้นสิ้นสุดลง ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตไม่ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในเวลาที่กำหนดตาม (๑) หรือ (๒) หรือภายในระยะเวลาที่เลขาธิการเห็นชอบให้ขยายตามวรรคสอง ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะสิ้นผลเมื่อพ้นระยะเวลาที่กำหนดดังกล่าวตามเงื่อนไขที่เลขาธิการกำหนดตามมาตรา ๒๖ วรรคสามแห่งพระราชบัญญัติ ข้อ ๙ หากผู้ได้รับใบอนุญาตแสดงให้เป็นที่ประจักษ์แก่สำนักงานได้ว่า มีระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามที่สำนักงานกำหนดโดยใช้หรือจะใช้ระบบงานและบุคลากรของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบัน ให้ถือว่าผู้ได้รับใบอนุญาตพร้อมให้สำนักงานตรวจสอบตามข้อ ๘ (๑) แล้ว ข้อ ๑๐ ผู้ได้รับใบอนุญาตจะรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าได้ต่อเมื่อได้รับโอนข้อตกลง บัญชีซื้อขายล่วงหน้า เงินประกัน เงิน หลักทรัพย์ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิเรียกร้องและภาระผูกพันอื่นใดของลูกค้ามาจากนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันครบถ้วนแล้ว ข้อ ๑๑ ในช่วงระยะเวลาที่ผู้ได้รับใบอนุญาตยังไม่สามารถรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้า ผู้ได้รับใบอนุญาตไม่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. สำนักงานและเลขาธิการกำหนดในส่วนที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๑๒ ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องอยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกันกับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันตลอดเวลาที่ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ตามรายละเอียดโครงสร้างการถือหุ้นที่แสดงต่อเลขาธิการตามข้อ ๖ ในกรณีที่จะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการถือหุ้นอันจะมีผลให้ผู้ได้รับใบอนุญาตไม่อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกันกับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบัน หากผู้ได้รับใบอนุญาตประสงค์จะประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อไป ให้ผู้ได้รับอนุญาตดำเนินการดังต่อไปนี้ก่อนวันเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการถือหุ้น (๑) ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าโดยปฏิบัติตามที่กำหนดไว้ในหมวด ๒ ของประกาศนี้โดยอนุโลม (๒) ยื่นคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าโดยปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม หากผู้ได้รับใบอนุญาตไม่ดำเนินการตามเงื่อนไขในวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้ถือว่าผู้ได้รับใบอนุญาตไม่ประสงค์จะประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า โดยให้ผู้ได้รับใบอนุญาตยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. กำหนด ภายในสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่เลขาธิการสั่งการ ข้อ ๑๓ ในกรณีที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุดในสาระสำคัญ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อเลขาธิการ ตามประกาศสำนักงานเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการขอรับใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและแบบคำขอใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ส่วนที่ ๓ ค่าธรรมเนียม ข้อ ๑๔ ให้สำนักงานเรียกเก็บค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ในอัตราดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต ๑๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าฉบับละ ๐ บาท (ศูนย์บาท) (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) หมวด ๒ การเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๕ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตตามแบบที่สำนักงานกำหนดโดยยื่นต่อเลขาธิการ ณ สำนักงานในเวลาเดียวกันกับที่ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งเป็นผู้อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกันยื่นคำขออนุญาตประกอบธุรกิจดังกล่าว และให้ส่งสำเนาคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ตลาดทราบด้วย ข้อ ๑๖ เมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๑๕ แล้ว ให้ดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) แจ้งเป็นหนังสือทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือวิธีอื่นใดที่มีหลักฐานการตอบรับตามที่สำนักงานเห็นชอบให้ลูกค้าทุกรายของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันทราบภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๒) ปิดประกาศเป็นหนังสือแจ้งการขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ทำการทุกแห่งของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า โดยปิดประกาศจนกว่าเลขาธิการจะอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจ (๓) ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับ ภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่ยื่นคำขออนุญาต (๔) สอบถามความประสงค์ของลูกค้าทุกรายว่าต้องการโอนข้อตกลง บัญชีซื้อขายล่วงหน้าเงินประกัน เงิน หลักทรัพย์ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิเรียกร้องและภาระผูกพันอื่นใดของลูกค้า ไปยังผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งเป็นผู้อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกันหรือนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายอื่น หรือประสงค์จะล้างฐานะการถือครอง และดำเนินการให้เป็นไปตามความประสงค์ของลูกค้า รวมถึงรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ ทั้งนี้ ให้โอนข้อตกลงไปยังผู้ได้รับใบอนุญาตได้เมื่อผู้ได้รับใบอนุญาตเริ่มให้บริการแก่ลูกค้าได้ตามข้อ ๘ แล้ว (๕) จัดให้มีการส่งมอบหรือรับมอบจนแล้วเสร็จ ในกรณีที่ข้อตกลงของลูกค้ารายใดมีภาระการส่งมอบหรือรับมอบ (๖) ปิดบัญชีซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้า พร้อมทั้งคืนเงินประกัน เงิน หลักทรัพย์และทรัพย์สินของลูกค้าที่ยังเหลืออยู่ให้แก่ลูกค้า (ถ้ามี) ภายในเจ็ดวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่ดำเนินการตามข้อ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) แล้วเสร็จ เว้นแต่จะมีเหตุจำเป็นและสมควร (๗) ยุติการรับคำสั่งซื้อหรือขายล่วงหน้าจากลูกค้าเมื่อดำเนินการโอนข้อตกลงไปยังผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งเป็นผู้อยู่ในกลุ่มนิติบุคคลเดียวกันหรือนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายอื่นแล้วเสร็จและแจ้งให้สำนักงานทราบในวันทำการถัดไป ข้อ ๑๗ ภายหลังจากที่ได้ยุติการรับคำสั่งซื้อหรือขายล่วงหน้าจากลูกค้าแล้วให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันได้รับยกเว้นการปฏิบัติในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (๑) การดำรงคุณสมบัติของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ต้องมีตลอดระยะเวลาของการประกอบธุรกิจนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๒) ระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า โดยนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันต้องแสดงให้เห็นว่าไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ แต่ไม่รวมถึงการจัดเก็บเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจหรือเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าและการดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนของลูกค้า (๓) การจัดให้มีหน่วยงานกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Unit) ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันแสดงให้เห็นว่าไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (๔) การแจ้งการเริ่มและการหยุดปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานหรือบุคลากร (๕) การแจ้งการเข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่สำนักงานยอมรับของพนักงานหรือบุคลากรเฉพาะกรณีที่พนักงานหรือบุคลากรนั้นใช้คุณสมบัติผ่านการทดสอบหลักสูตรจากสำนักงานในการขึ้นทะเบียนเป็นเจ้าหน้าที่ติดต่อลูกค้าหรือบุคลากรอื่นใดที่สำนักงานกำหนด (๖) การชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายปี (กรณีที่ค่าธรรมเนียมถึงกำหนดชำระแล้ว) (๗) การดำรงทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและชำระแล้ว การดำรงฐานะทางการเงิน และการจัดทำและจัดส่งรายงานฐานะทางการเงิน ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันสามารถแสดงได้ว่ามีฐานะทางการเงินเพียงพอที่จะรองรับความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากธุรกรรมการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้าหรือตนเอง (๘) การจัดทำและการจัดส่งงบการเงิน ข้อ ๑๘ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันรายงานผลการดำเนินการเพื่อเลิกการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้สำนักงานและตลาดทราบตามกำหนดระยะเวลาและแบบที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๑๙ เลขาธิการจะอนุญาตให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อเมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบันไม่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันใด ๆ ต่อลูกค้าและได้รับอนุญาตให้ลาออกจากการเป็นสมาชิกตลาดแล้ว ในการพิจารณาอนุญาตให้เลิกประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการอาจกำหนดเงื่อนไขในการเลิกประกอบธุรกิจด้วยก็ได้ หมวด ๓ การโอนสำนักงานสาขา ข้อ ๒๐ ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตประสงค์จะรับโอนสำนักงานสาขาจากนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบัน ให้แจ้งการโอนสำนักงานสาขามายังสำนักงานเป็นหนังสือ ทั้งนี้ หนังสือแจ้งการโอนให้ระบุรายละเอียดของการโอน และลงนามโดยผู้มีอำนาจกระทำการแทนผู้ได้รับใบอนุญาตและนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปัจจุบัน ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ภีราพร/ผู้ตรวจ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๓๙ ง/หน้า ๗/๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
703736
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ 1/2557 เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๗ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาต ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเสียใหม่ เพื่อให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๕ (๘) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (๘) ของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๘) ถูกกล่าวโทษโดยสำนักงานหรือสำนักงาน ก.ล.ต. ตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน ในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) การกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า การซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือการซื้อขายหลักทรัพย์ (ข) การบริหารงานอันเป็นการหลอกลวง ฉ้อฉลหรือทุจริต (ค) การจงใจแสดงข้อความเท็จอันเป็นสาระสำคัญหรือปกปิดข้อความจริง อันเป็นสาระสำคัญที่ควรบอกให้แจ้งในเอกสารที่ต้องเปิดเผยต่อประชาชนหรือต้องยื่นต่อสำนักงาน สำนักงาน ก.ล.ต. คณะกรรมการ ก.ส.ล. คณะกรรมการกำกับตลาดทุนหรือคณะกรรมการ ก.ล.ต. (ง) การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจหลักทรัพย์ หรือธุรกิจทรัสตีโดยไม่ได้รับอนุญาต การกระทำตาม (ก) (ข) (ค) และ (ง) ให้เป็นไปตามที่กำหนดในบัญชีท้ายประกาศนี้” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความใน (๙) ของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๙) ถูกกล่าวโทษโดยหน่วยงานกำกับดูแลสถาบันการเงินไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ เนื่องจากการบริหารโดยทุจริตและทำให้เกิดความเสียหาย ไม่ว่าจะต่อสถาบันการเงินที่ตนสังกัดหรือต่อลูกค้า” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน (๑๐) ของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๑๐) เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกไม่ว่าศาลจะมีคำพิพากษาให้รอการลงโทษหรือไม่ก็ตามในความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุนในเรื่องดังต่อไปนี้ ภายในระยะเวลาไม่เกินสามปี โดยนับถึงวันที่ขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการหรือขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าแล้วแต่กรณี หรือต้องคำพิพากษาดังกล่าวข้างต้นในเวลาใด ๆ เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (ก) การกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า การซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือการซื้อขายหลักทรัพย์ (ข) การบริหารงานอันเป็นการหลอกลวง ฉ้อฉลหรือทุจริต (ค) การจงใจแสดงข้อความเท็จอันเป็นสาระสำคัญหรือปกปิดข้อความจริง อันเป็นสาระสำคัญที่ควรบอกให้แจ้งในเอกสารที่ต้องเปิดเผยต่อประชาชนหรือต้องยื่นต่อสำนักงาน สำนักงาน ก.ล.ต. คณะกรรมการ ก.ส.ล. คณะกรรมการกำกับตลาดทุนหรือคณะกรรมการ ก.ล.ต. (ง) การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจหลักทรัพย์หรือธุรกิจทรัสตีโดยไม่ได้รับอนุญาต การกระทำตาม (ก) (ข) (ค) และ (ง) ให้เป็นไปตามที่กำหนดในบัญชีท้ายประกาศนี้” ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความใน (๑๑) ของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๑๑) เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกไม่ว่าศาลจะมีคำพิพากษาให้รอการลงโทษหรือไม่ก็ตาม เนื่องจากการบริหารโดยทุจริตและทำให้เกิดความเสียหาย ไม่ว่าจะต่อสถาบันการเงินที่ตนสังกัดหรือต่อลูกค้า ภายในระยะเวลาไม่เกินสามปี โดยนับถึงวันที่ขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการหรือขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าแล้วแต่กรณี หรือต้องคำพิพากษาดังกล่าวข้างต้นในเวลาใด ๆ เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล.” ข้อ ๕ ให้ยกเลิก (๑๒) ของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๖ ให้ยกเลิกความใน (๑๓) และ (๑๔) ของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๑๓) อยู่ระหว่างถูกห้าม พักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบหรือการกระทำอื่นใดที่มีลักษณะเช่นเดียวกันกับการห้าม พักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบในการเป็นบุคลากรในธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือธุรกิจหลักทรัพย์ตามคำสั่งของสำนักงาน ก.ล.ต. หน่วยงานกำกับดูแลหรือองค์กรที่มีอำนาจตามกฎหมาย ไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ หรืออยู่ระหว่างถูกห้าม พักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบหรือการกระทำอื่นใดที่มีลักษณะเช่นเดียวกันกับการห้าม พักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบในการปฏิบัติงานอื่นใดที่เทียบเคียงได้กับการเป็นบุคลากรในธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือธุรกิจหลักทรัพย์ ตามคำสั่งของสำนักงาน ก.ล.ต. หน่วยงานกำกับดูแลหรือองค์กรที่มีอำนาจตามกฎหมายไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ (๑๔) เคยสิ้นสุดการขึ้นทะเบียนกับสำนักงานในการเป็นบุคลากรของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เนื่องจากไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎระเบียบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือสำนักงานในเรื่องเกี่ยวกับมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ ภายในระยะเวลาไม่เกินสามปี โดยนับถึงวันที่ขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการหรือขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าแล้วแต่กรณี หรือสิ้นสุดการขึ้นทะเบียนดังกล่าวข้างต้นในเวลาใด ๆ เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล.” ข้อ ๗ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ ๔ (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) (๑๓) และ (๑๔) ข้อหนึ่งข้อใดอยู่แล้วก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ จะไม่ถือว่าบุคคลดังกล่าวมีลักษณะต้องห้ามนั้นเมื่อประกาศนี้มีผลใช้บังคับ” ข้อ ๘[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า [เอกสารแนบท้าย] ๑. บัญชีแนบท้ายประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๗ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๗ โชติกานต์/ผู้ตรวจ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๗ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๓ ง/หน้า ๓๕/๒๕ มีนาคม ๒๕๕๗
731324
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 2/2550 เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับ Update ณ วันที่ 14/03/2556)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ การซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า[๑] โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและเป็นประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๗ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๔๘ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๔๘ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๙ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ การยกเลิกประกาศตามวรรคหนึ่งไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกยกเลิกดังกล่าว บรรดาประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศตามวรรคหนึ่ง ที่ถูกยกเลิกตามประกาศนี้ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปโดยอนุโลม ทั้งนี้ จนกว่าจะถูกยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมในภายหลัง ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “หลักทรัพย์” หมายความว่า หลักทรัพย์ตามที่สำนักงานกำหนด “ทุนจดทะเบียน” หมายความว่า ทุนจดทะเบียนของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “ทุนที่ออกและชำระแล้ว” หมายความว่า ทุนที่ออกและชำระแล้วของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนที่ออกและชำระแล้วซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “หน่วยงานกำกับดูแล” หมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการประกันภัย และหน่วยงานอื่นตามที่สำนักงานกำหนด “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เงินประกันความเสี่ยงของลูกค้า”[๒] หมายความว่า เงินประกันขั้นต่ำสำหรับบัญชีของลูกค้า ซึ่งคำนวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการของตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ข้อ ๓[๓] ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าดำรงฐานะทางการเงินตามที่กำหนดดังต่อไปนี้ตลอดระยะเวลาของการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๑) ทุนจดทะเบียนเฉพาะหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่าห้าสิบล้านบาท (๒) ทุนที่ออกและชำระแล้วเฉพาะหุ้นสามัญและส่วนเกินหรือส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่าห้าสิบล้านบาท ทั้งนี้ เฉพาะนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ก่อนวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ต้องไม่ต่ำกว่าสิบสองล้านห้าแสนบาท และ (๓) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิและอัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) เกณฑ์ขั้นต้น ได้แก่ ๑) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิไม่ต่ำกว่าสิบล้านห้าแสนบาท และ ๒) อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าไม่ต่ำกว่าร้อยละสิบสอง และ (ข) เกณฑ์ขั้นต่ำ ได้แก่ ๑) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิไม่ต่ำกว่าเจ็ดล้านบาท และ ๒) อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าไม่ต่ำกว่าร้อยละเจ็ด ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับเมื่อสำนักงานให้ความเห็นชอบการเริ่มประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. และสำนักงานกำหนดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแล้ว ข้อ ๔ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) คำนวณเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิทุกสิ้นวันทำการและจัดทำรายงานฐานะทางการเงิน ณ สิ้นวันทำการดังกล่าว ตามแบบที่สำนักงานกำหนดภายในวันทำการถัดไป และต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือผู้รับมอบอำนาจรับทราบรายงานฐานะทางการเงินนั้นด้วย นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะจัดทำรายงานฐานะทางการเงินโดยการบันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ ระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใดก็ได้ ทั้งนี้ ภายในสองปีแรกนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่จัดทำรายงานฐานะทางการเงิน ณ สิ้นวันทำการ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดเก็บรายงานดังกล่าวและหลักฐานแสดงการรับทราบของกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือผู้รับมอบอำนาจไว้ ณ สำนักงานแห่งใหญ่* พร้อมให้สำนักงานตรวจสอบได้ตลอดเวลา (๒) รายงานฐานะทางการเงิน ณ วันสุดท้ายของเดือนต่อสำนักงานตามแบบที่สำนักงานกำหนดภายในวันที่สิบของเดือนถัดไป ในกรณีที่มีเหตุจำเป็น สำนักงานอาจให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายงานฐานะทางการเงิน ณ วันทำการวันใดวันหนึ่ง ภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งก็ได้ ข้อ ๕ ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าดำรงฐานะทางการเงินต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต้นตามข้อ ๓ (๓) (ก) ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายงานฐานะทางการเงิน ณ วันที่ฐานะทางการเงินต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต้นอย่างช้าภายในสองวันทำการถัดไป และรายงานฐานะทางการเงินของแต่ละวันทำการดังกล่าวต่อเนื่องไปจนกว่าจะสามารถดำรงฐานะทางการเงินตามเกณฑ์ขั้นต้นทุกเกณฑ์ติดต่อกันเป็นเวลาสองวันทำการ ทั้งนี้ ตามแบบที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๖ ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าดำรงฐานะทางการเงินต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำตามข้อ ๓ (๓) (ข) ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแจ้งให้สำนักงานทราบโดยไม่ชักช้าและยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรภายในวันทำการถัดไป พร้อมทั้งรายงานฐานะทางการเงิน ณ วันที่ฐานะทางการเงินต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำภายในสองวันทำการถัดไปนับจากวันที่แจ้งให้สำนักงานทราบ ทั้งนี้ ตามแบบที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๗ การคำนวณเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๘ นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายใดที่ประกอบกิจการอื่นด้วย โดยกิจการดังกล่าวอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของหน่วยงานกำกับดูแลอื่น หากนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายนั้นไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการดำรงฐานะทางการเงินขั้นต่ำของหน่วยงานกำกับดูแลนั้น ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายนั้นรายงานให้สำนักงานทราบโดยไม่ชักช้าและยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรภายในวันทำการถัดไป ข้อ ๘/๑[๔] มิให้นำความในข้อ ๓ (๓) ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ มาใช้บังคับแก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ ซึ่งเป็นผู้ที่ต้องดำรงเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๘/๒[๕] นอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ (๑) และ (๒) ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๘/๑ ดำรงฐานะทางการเงิน คำนวณและรายงานการคำนวณเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ รวมถึงปฏิบัติงานอื่นเกี่ยวกับการดำรงฐานะทางการเงินดังกล่าวตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า รวมถึงหลักเกณฑ์ในเรื่องเดียวกันซึ่งใช้บังคับภายใต้กฎหมายดังกล่าวโดยอนุโลม ทั้งนี้ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้านั้นรายงานและปฏิบัติในเรื่องนี้ต่อสำนักงานเช่นเดียวกับที่ปฏิบัติต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ให้ถือว่าการปฏิบัติตามวรรคหนึ่งของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๘/๑ เป็นการปฏิบัติตามประกาศนี้ ข้อ ๙ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เกริกไกร จีระแพทย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๖] ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๘/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓)[๗] ข้อ ๕ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๓ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๘] ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป อุษมล/ผู้จัดทำ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ ณัฐพร/ผู้ตรวจ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๑๐/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๒] ข้อ ๒ นิยามคำว่า “เงินประกันความเสี่ยงของลูกค้า” เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๓ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓] ข้อ ๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๓ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) * “สำนักงานแห่งใหญ่” หมายความว่า สำนักงานแห่งใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีสำนักงานสาขาและการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานสาขา ลงวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม [๔] ข้อ ๘/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๘/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๕] ข้อ ๘/๒ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๘/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) [๖] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๓๒/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๔๓/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๘] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๑๖/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
699186
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 5/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 10)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๑๐) โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อกำหนดเกี่ยวกับการจัดให้มีหน่วยงาน บุคลากรและระบบงานในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเสียใหม่ เพื่อให้การกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีความเหมาะสมยิ่งขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (๔) ของข้อ ๓ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๒) หน่วยงานกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Unit) ที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ โดยหน่วยงานดังกล่าวต้องมีความเป็นอิสระในการดำเนินงานและบุคลากรที่ทำหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Officer) ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด” ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๕/๑ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ “ข้อ ๕/๑ ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าประสงค์จะซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเอง ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจัดให้มีหน่วยงานและบุคลากร ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด” ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความในข้อ ๖ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๖ ในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจัดให้มีบุคลากรดังต่อไปนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด (๑) เจ้าหน้าที่ติดต่อลูกค้า ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะติดต่อ ชักชวนหรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้า (๒) นักวิเคราะห์การซื้อขายล่วงหน้า ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าหรือจัดทำรายงานหรือบทวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าเพื่อให้บริการหรือเผยแพร่แก่ลูกค้าในนามของนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า” ข้อ ๖[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ จุฑามาศ/ผู้ตรวจ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๗๘ ง/หน้า ๖๖/๙ ธันวาคม ๒๕๕๖
699184
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเสียใหม่ เพื่อส่งเสริมให้การขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีความสะดวกยิ่งขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) (๒) (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๖ วรรคสอง และมาตรา ๒๗ (๒) (ค) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศดังต่อไปนี้ (๑) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ (๒) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ (๓) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ (๔) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ (๕) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ (๖) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ (๗) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (๘) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (๙) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ (๑๐) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ (๑๑) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๘) ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๑๒) ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อำนวยการฝ่ายและให้หมายความรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า การปฏิบัติการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือการวิจัยด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือสายงานอื่นในทำนองเดียวกัน “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “ตลาด” หมายความว่า ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “พระราชบัญญัติ” หมายความว่า พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ข้อ ๓ ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต้องเป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ ข้อ ๔ ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๓ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (๑) มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ (๒) ไม่มีลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและมีบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม (๓) มีพนักงานที่สำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองอย่างน้อยหนึ่งคน (๔) มีแผนธุรกิจ (Business Plan) โดยให้ความสำคัญกับการหาลูกค้าและการเพิ่มจำนวนลูกค้า ทั้งนี้ ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตดังกล่าวต้องแสดงได้ว่าจะมีระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๕ เฉพาะผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามข้อ ๓ ที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้วต้องมีคุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ประกอบธุรกิจอื่นที่มีลักษณะครบถ้วนดังต่อไปนี้ (ก) มีระบบการบริหารความเสี่ยงอย่างเพียงพอซึ่งจะไม่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ข) มีระบบในการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าอย่างเพียงพอ (ค) เป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทใดประเภทหนึ่งโดยสนับสนุนให้การบริการมีความสมบูรณ์และครบวงจรยิ่งขึ้น หรือเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ของผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตให้เกิดประโยชน์ยิ่งขึ้น (๒) ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ ทั้งนี้ หากประกอบธุรกิจอื่นด้วยธุรกิจอื่นนั้นจะต้องมีระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในทำนองเดียวกันกับที่กำหนดไว้ตาม (๑) (ก) และ (ข) ข้อ ๖ ให้ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ายื่นคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทดังกล่าว พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตตามแบบคำขออนุญาตที่สำนักงานกำหนด โดยยื่นต่อเลขาธิการ ณ สำนักงาน ข้อ ๗ ให้เลขาธิการพิจารณาคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าและเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาต และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับคำขออนุญาต พร้อมเอกสารและหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน ในกรณีที่เลขาธิการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ผู้ได้รับอนุญาตชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแก่สำนักงานภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการอนุญาต หากผู้ได้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ถือว่าผู้ได้รับอนุญาตไม่ประสงค์จะประกอบธุรกิจดังกล่าวแล้ว เมื่อผู้ได้รับอนุญาตชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแก่สำนักงานครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนดแล้วให้เลขาธิการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตภายในห้าวันทำการนับแต่วันถัดจากวันที่สำนักงานได้รับชำระค่าธรรมเนียมครบถ้วน ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ใช้ได้เฉพาะตัวจะโอนกันไม่ได้ ข้อ ๘ ผู้ได้รับใบอนุญาตจะเริ่มให้บริการแก่ลูกค้าได้ต่อเมื่อ (๑) ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. และสำนักงานกำหนดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแล้วโดยผู้ได้รับใบอนุญาตต้องพร้อมให้สำนักงานตรวจสอบการดำเนินการดังกล่าวภายในเก้าสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า และได้รับความเห็นชอบการดำเนินการดังกล่าวจากสำนักงานแล้ว ทั้งนี้ หากสำนักงานตรวจสอบแล้วเห็นว่าผู้ได้รับใบอนุญาตยังมิได้ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. และสำนักงานกำหนดเลขาธิการอาจสั่งให้ผู้ได้รับใบอนุญาตดำเนินการใดตามที่เห็นสมควร (๒) ผ่านเกณฑ์การตรวจความพร้อมในการเป็นสมาชิกตลาดและสมาชิกสำนักหักบัญชีภายในเก้าสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ในกรณีมีเหตุจำเป็นและสมควร ผู้ได้รับใบอนุญาตอาจขอขยายระยะเวลาตาม (๑) หรือ (๒) ได้อีกเก้าสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ครบกำหนดระยะเวลาดังกล่าว โดยต้องขอขยายระยะเวลาต่อเลขาธิการก่อนระยะเวลานั้นสิ้นสุดลง ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตไม่ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในเวลาที่กำหนดตาม (๑) หรือ (๒) หรือภายในระยะเวลาที่เลขาธิการเห็นชอบให้ขยายตามวรรคสองใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจะสิ้นผลบังคับเมื่อพ้นระยะเวลาที่กำหนดดังกล่าวตามเงื่อนไขที่เลขาธิการกำหนดตามมาตรา ๒๖ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติ ข้อ ๙ ในช่วงระยะเวลาที่ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องดำเนินการตามข้อ ๘ ผู้ได้รับใบอนุญาตไม่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. สำนักงานและเลขาธิการกำหนดในส่วนที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๑๐ ในกรณีที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุดในสาระสำคัญ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อเลขาธิการตามประกาศสำนักงาน เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการขอรับใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและแบบคำขอใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๑ ให้สำนักงานเรียกเก็บค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ในอัตราดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ได้แก่ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ๑๕๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตาม (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๑๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ จุฑามาศ/ผู้ตรวจ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๗๘ ง/หน้า ๖๑/๙ ธันวาคม ๒๕๕๖
689487
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ 1/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต และการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล (ฉบับที่ ๓)[๑] โดยที่เป็นการสมควรกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าเพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล และเงื่อนไขในการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๔ ให้เลขาธิการพิจารณาคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล และเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับคำขออนุญาตพร้อมเอกสารและหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน เมื่อได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลจากเลขาธิการแล้ว ให้ผู้ได้รับอนุญาตชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลต่อสำนักงานภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับอนุญาต หากผู้ได้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลให้ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ถือว่าผู้ได้รับอนุญาตไม่ประสงค์จะประกอบธุรกิจดังกล่าวแล้ว ให้เลขาธิการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ผู้ได้รับอนุญาตได้ชำระค่าธรรมเนียมตามวรรคสอง ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ให้ใช้ได้เฉพาะตัว จะโอนกันไม่ได้” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๗ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๒๕,๐๐๐ บาท (สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ๗๕,๐๐๐ บาท (เจ็ดหมื่นห้าพันบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๗ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน)” ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๕๙/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689485
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ 1/2556 เรื่อง การกำหนดค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายปีตามปีปฏิทิน
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๖ เรื่อง การกำหนดค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เป็นรายปีตามปีปฏิทิน[๑] โดยที่เป็นการสมควรกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายปีตามปีปฏิทินและเงื่อนไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทต่าง ๆ ในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงกำหนดอัตราและเงื่อนไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายปีตามปีปฏิทินของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าแต่ละประเภทไว้ตามที่กำหนดในตารางที่แนบท้ายประกาศนี้ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า [เอกสารแนบท้าย] ๑. ตารางอัตราและเงื่อนไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายปีตามปีปฏิทินของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าแต่ละประเภท แนบท้ายประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๖ เรื่อง การกำหนดค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายปีตามปีปฏิทิน (ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๕๘/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689483
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ 1/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๑/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต และการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๑] โดยที่เป็นการสมควรกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า และเงื่อนไขในการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ให้เลขาธิการพิจารณาคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าและเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาต และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับคำขออนุญาต พร้อมเอกสารและหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ เมื่อได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าจากเลขาธิการแล้ว ให้ผู้ได้รับอนุญาตชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าต่อสำนักงานภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับอนุญาต หากผู้ได้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าให้ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ถือว่าผู้ได้รับอนุญาตไม่ประสงค์จะประกอบธุรกิจดังกล่าวแล้ว ให้เลขาธิการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ผู้ได้รับอนุญาตได้ชำระค่าธรรมเนียมตามวรรคสอง ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าให้ใช้ได้เฉพาะตัวจะโอนกันไม่ได้” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๘ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๑๒,๕๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า ๓๗,๕๐๐ บาท (สามหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๘ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (ห้าพันบาทถ้วน)” ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๕๖/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689481
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส 1/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 6)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต และการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า และเงื่อนไขในการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๗ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๑๒,๕๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ๓๗,๕๐๐ บาท (สามหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๗ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (ห้าพันบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๕๔/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689479
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต 1/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 6)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต และการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า และเงื่อนไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๑,๒๕๐ บาท (หนึ่งพันสองร้อยห้าสิบบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ๓,๗๕๐ บาท (สามพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๕ (๑) และ (๒) (ก) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๕๐๐ บาท (ห้าร้อยบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๕๒/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689477
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท 1/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ 6)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต และการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๖)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคลและเงื่อนไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคลในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๔๖” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๓/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๔๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๑๒,๕๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ๓๗,๕๐๐ บาท (สามหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๕ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (ห้าพันบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๔๖ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๕๐/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689475
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 3/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 9)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๙)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขในการขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๘) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๓๑ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๔๘/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689473
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 2/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ ๔)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าและเงื่อนไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๖ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๖ ให้เลขาธิการพิจารณาคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าและเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตและแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับคำขออนุญาต พร้อมเอกสารและหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน เมื่อได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจากเลขาธิการแล้ว ให้ผู้ได้รับอนุญาตชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าต่อสำนักงานภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับอนุญาต หากผู้ได้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ถือว่าผู้ได้รับอนุญาตไม่ประสงค์จะประกอบธุรกิจดังกล่าวแล้ว ให้เลขาธิการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ผู้ได้รับอนุญาตได้ชำระค่าธรรมเนียมตามวรรคสอง ในการออกใบอนุญาต ให้เลขาธิการมีอำนาจกำหนดจำนวนใบอนุญาตที่จะออกให้แก่ผู้ที่จะได้รับใบอนุญาต ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้ใช้ได้เฉพาะตัวจะโอนกันไม่ได้” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๙ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาตคำขอละ ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ๑๕๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๙ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)” ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๔๖/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689471
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 1/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 8)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๘)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าและเงื่อนไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๐ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๑๐ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ๑๕๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๑๐ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๔๔/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689469
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค 2/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้าเพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๒/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า (ฉบับที่ ๔)[๑] โดยที่เป็นการสมควรกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้าในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๑” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า ลงวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๖/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๔ ในการพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า ให้เลขาธิการพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอันจะเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือตลาด เช่น ประเภทหรือชนิดของสินค้าเกษตรในตลาด หรือสภาวะการซื้อขายล่วงหน้าในตลาด หรือผลกระทบต่อผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือผู้ประกอบธุรกิจสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับคำขออนุญาต พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตที่ถูกต้องและครบถ้วน เมื่อได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้าจากเลขาธิการแล้ว ให้ผู้ได้รับอนุญาตชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้าต่อสำนักงานภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับอนุญาต หากผู้ได้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้าให้ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ถือว่าผู้ได้รับอนุญาตไม่ประสงค์จะประกอบธุรกิจดังกล่าวแล้ว ให้เลขาธิการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า ให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ผู้ได้รับอนุญาตได้ชำระค่าธรรมเนียมตามวรรคสอง ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า ให้มีอายุหกปีตามปีปฏิทินนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่เลขาธิการออกใบอนุญาต และให้ใช้ได้เฉพาะตัว จะโอนกันไม่ได้” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๖ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๖ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๑,๒๕๐ บาท (หนึ่งพันสองร้อยห้าสิบบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า ๓,๗๕๐ บาท (สามพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๖ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า เพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า ฉบับละ ๕๐๐ บาท (ห้าร้อยบาทถ้วน)” ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๑ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๔๑/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
689467
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค 1/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า(ฉบับที่ 7)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาต เป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า และเงื่อนไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้าในปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๔๕” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๔๕ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๒/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๘/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๔๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๒,๕๐๐ บาท (สองพันห้าร้อยบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ได้แก่ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ๗,๕๐๐ บาท (เจ็ดพันห้าร้อยบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๕ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๔๕ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ บุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๓๙/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖
683407
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุน ซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล (ฉบับที่ ๒)[๑] โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าเพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๗ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล จะได้รับยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลจนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๓๖/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683405
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓)[๑] โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๘ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้ารายปีตามปีปฏิทิน ให้ยกเว้นการเรียกเก็บจนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (๒) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๓,๐๐๐ บาท (สามพันบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๓๔/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683403
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส 2/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 6)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุน การซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าเพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขในการขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ (๕) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๓๒/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683401
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุน การซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕)[๑] โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ และปรับปรุงเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ (๕) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๗ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๒๕,๐๐๐ บาท (สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ๓๗,๕๐๐ บาท (สามหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๗ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๓,๗๕๐ บาท (สามพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน)” ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๓๐/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683399
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต เป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕)[๑] โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ซึ่งยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๕,๐๐๐ บาท (ห้าพันบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้ารายปีตามปีปฏิทิน ในอัตราปีละ ๓,๐๐๐ บาท (สามพันบาทถ้วน) ยกเว้นในปีแรกของการออกใบอนุญาตค่าธรรมเนียมใบอนุญาตจะคิดตามสัดส่วนระยะเวลาตั้งแต่วันที่ได้รับอนุญาตจนถึงสิ้นเดือนธันวาคมของปีแรกนั้นตามที่สำนักงานกำหนด ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๕ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๓๐๐ บาท (สามร้อยบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๒๘/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683397
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต เป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๕)[๑] โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๔๖” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๓/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๔๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตราดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๒๕,๐๐๐ บาท (สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ๓๗,๕๐๐ บาท (สามหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๕ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ฉบับละ ๓,๗๕๐ บาท (สามพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กท ๑/๒๕๔๖ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๒๖/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683395
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 3/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 8)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๘)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขในการขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๗/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๓ (๒) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๘ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๒๔/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683393
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 2/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ ๓)[๑] โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้วในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า สำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๙ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตราดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายปีตามปีปฏิทิน ในอัตราปีละ ๑๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๙ (๑) จนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (๒) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๑๕,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๖/๒๕๕๑ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๒๒/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683390
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 7)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๗)[๑] โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ และปรับปรุงเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๔๙ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๓/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๓/๑ (๕) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗ ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๐ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๑๐ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ได้แก่ (ก) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ๑๕๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) (ข) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายปีตามปีปฏิทิน ในอัตราปีละ ๑๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๑๐ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ฉบับละ ๑๕,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน)” ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๒๐/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683388
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ 6)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาต เป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๖)[๑] โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๔๕” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๔๕ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๒/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๘/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๔๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ค่าธรรมเนียมสำหรับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีอื่นใดที่เกี่ยวข้อง) ให้เรียกเก็บในอัตราดังต่อไปนี้ (๑) ค่าธรรมเนียมการขออนุญาต คำขอละ ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) (๒) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) ทั้งนี้ ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามข้อ ๕ (๑) และ (๒) จนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (๓) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (ห้าพันบาทถ้วน)” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กค ๑/๒๕๔๕ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๑๘/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
683386
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน 4/2553 เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๔/๒๕๕๓ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ การซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๑] โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าให้เหมาะสมกับความเสี่ยงจากธุรกรรมการซื้อขายล่วงหน้าของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเพื่อเพิ่มศักยภาพในการประกอบธุรกิจ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๕/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๘/๒๕๕๑ เรื่อง การดำรงฐานะทางการเงินสำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ “ทุนจดทะเบียน” หมายความว่า ทุนจดทะเบียนของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด และให้หมายความรวมถึงทุนซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “ทุนที่ออกและชำระแล้ว” หมายความว่า ทุนที่ออกและชำระแล้วของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนที่ออกและชำระแล้วซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ข้อ ๒ ให้เพิ่มบทนิยาม “เงินประกันความเสี่ยงของลูกค้า” ในข้อ ๒ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ ดังต่อไปนี้ ““เงินประกันความเสี่ยงของลูกค้า” หมายความว่า เงินประกันขั้นต่ำสำหรับบัญชีของลูกค้า ซึ่งคำนวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการของตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๓ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กน ๒/๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๓ ให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าดำรงฐานะทางการเงินตามที่กำหนดดังต่อไปนี้ตลอดระยะเวลาของการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า (๑) ทุนจดทะเบียนเฉพาะหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่าห้าสิบล้านบาท (๒) ทุนที่ออกและชำระแล้วเฉพาะหุ้นสามัญและส่วนเกินหรือส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่าห้าสิบล้านบาท ทั้งนี้ เฉพาะนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ก่อนวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ต้องไม่ต่ำกว่าสิบสองล้านห้าแสนบาท และ (๓) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิและอัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) เกณฑ์ขั้นต้น ได้แก่ ๑) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิไม่ต่ำกว่าสิบล้านห้าแสนบาท และ ๒) อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าไม่ต่ำกว่าร้อยละสิบสอง และ (ข) เกณฑ์ขั้นต่ำ ได้แก่ ๑) เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิไม่ต่ำกว่าเจ็ดล้านบาท และ ๒) อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิต่อยอดรวมของเงินประกันความเสี่ยงของลูกค้าไม่ต่ำกว่าร้อยละเจ็ด ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับเมื่อสำนักงานให้ความเห็นชอบการเริ่มประกอบธุรกิจตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. และสำนักงานกำหนดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าแล้ว” ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ อุษมล/ผู้ตรวจ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๑๖/๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
706933
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส 2/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับ Update ณ วันที่ 26/05/2553) (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุน การซื้อขายล่วงหน้า[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๒ และมาตรา ๓๕ (๗) และ (๘) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “การซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า การซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ”[๒] หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อำนวยการฝ่าย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า การปฏิบัติการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือการวิจัยด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือสายงานอื่นในทำนองเดียวกัน “ประสบการณ์ในการทำงาน”[๓] (ยกเลิก) “ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าตามประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กป ๑/๒๕๔๗ เรื่อง การประกอบธุรกิจอื่นที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตร ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๔๗ และตามที่มีแก้ไขเพิ่มเติม “นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการให้จัดหาและรับคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้า “เจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า พนักงานของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่มีหน้าที่ติดต่อ ชักชวนหรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้าและได้ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนดแล้ว “ทุนจดทะเบียน” หมายความว่า ทุนจดทะเบียนของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “ทุนที่ออกและชำระแล้ว” หมายความว่า ทุนที่ออกและชำระแล้วของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดและให้หมายความรวมถึงทุนที่ออกและชำระแล้วซึ่งมีลักษณะทำนองเดียวกันของนิติบุคคลอื่น “ส่วนของผู้ถือหุ้น”[๔] (ยกเลิก) “ข้อตกลง” หมายความว่า ข้อตกลงระหว่างนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ากับตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า “กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ข้อกำหนด มติ และหนังสือเวียนที่ออกโดยคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า คณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าหรือตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “พระราชบัญญัติ”[๕] หมายความว่า พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ หมวด ๑ การดำรงคุณสมบัติและการควบคุมการปฏิบัติงาน ข้อ ๒ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องดำรงคุณสมบัติดังต่อไปนี้ ตลอดระยะเวลาของการประกอบธุรกิจเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (๑) มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ (๒)[๖] มีทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่าสี่ล้านบาท ยกเว้นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นสหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ให้มีทุนไม่ต่ำกว่าสองล้านบาท (๓) มีทุนที่ออกและชำระแล้วเฉพาะหุ้นสามัญและส่วนเกินหรือส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่าหนึ่งล้านบาท (๔)[๗] (ยกเลิก) (๕) มีสัดส่วนการถือหุ้นโดยผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยเป็นมูลค่าเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนที่ออกและชำระแล้ว (๖)[๘] มีบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม (๗) มีระบบการควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบการปฏิบัติงาน และระบบป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกำหนดระเบียบวิธีปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้ (ก) กำหนดมาตรการป้องกันการล่วงรู้ข้อมูลภายในระหว่างหน่วยงานและบุคลากร (Chinese wall) (ข) กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารหน่วยงานและบุคลากรอย่างชัดเจนและเป็นที่ยอมรับได้ โดยเฉพาะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง ดังนี้ ๑) การแยกหน่วยงานและบุคลากรที่มีลักษณะงานที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ออกจากกัน โดยอย่างน้อยต้องแยกหน่วยงานและบุคลากรที่มีหน้าที่ติดต่อ ชักชวนหรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้า ออกจากหน่วยงานและบุคลากรที่ตัดสินใจซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ในกรณีที่ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจัดให้มีหน่วยงานกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Unit) และ/หรือหน่วยงานควบคุมภายใน (Internal Audit) ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการให้หน่วยงานดังกล่าวมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานและมีความเป็นอิสระจากหน่วยงานอื่น ๒) การไม่มอบหมายให้บุคลากรคนหนึ่งคนใดรับผิดชอบการปฏิบัติงานตลอดกระบวนการในลักษณะที่อาจเป็นช่องทางให้เกิดการทุจริตได้ ๓) การควบคุมดูแลการซื้อขายล่วงหน้าของบุคลากร คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (๘) มีบุคลากรที่สำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่สำนักงานให้การยอมรับอย่างน้อยหนึ่งคน ข้อ ๓ ห้ามมิให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามกฎหมายไทยประกอบธุรกิจอื่นนอกเหนือจากการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ข้อ ๔ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องทำข้อตกลงเป็นหนังสือกับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าอย่างน้อยหนึ่งรายเพื่อทำการจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าให้กับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ารายนั้น ๆ โดยมีสาระสำคัญของข้อตกลงตามที่สำนักงานประกาศกำหนด ข้อ ๔/๑[๙] ในกรณีที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตกลงให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้ารับเงินที่ลูกค้ามีหน้าที่ต้องชำระหรือส่งแก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเพื่อใช้ในการซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้า เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทนในการเป็นนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือเงินประกัน หรือส่งเงินที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีหน้าที่ต้องชำระหรือส่งแก่ลูกค้า ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้ามีสิทธิเรียกเก็บหรือรับเงินที่ลูกค้ามีหน้าที่ต้องชำระหรือส่งแก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าจากลูกค้าเพื่อส่งมอบให้แก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า หรือส่งเงินที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีหน้าที่ต้องชำระหรือส่งแก่ลูกค้าให้แก่ลูกค้าได้ เงินที่รับจากลูกค้าหรือส่งแก่ลูกค้าตามวรรคหนึ่งต้องอยู่ในรูปของเช็คขีดคร่อมหรือแคชเชียร์เช็คธนาคาร โดยระบุชื่อบัญชีนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าเพื่อประโยชน์ของลูกค้า หรือลูกค้าเป็นผู้รับเงินเท่านั้น โดยจะรับหรือส่งเป็นเงินสดไม่ได้ ข้อ ๔/๒[๑๐] เมื่อตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าได้รับเงินเพื่อใช้ในการซื้อขายล่วงหน้าจากลูกค้าแล้ว ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจัดการให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ตนมีข้อตกลงได้รับมอบเงินนั้นตามระยะเวลาที่คณะกรรมการตลาดกำหนดตามระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการวางเงินประกันระหว่างสมาชิกสำนักหักบัญชีกับผู้ใช้บริการ ข้อ ๕ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจะจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าจากลูกค้าได้ ต่อเมื่อนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ทำข้อตกลงแจ้งชื่อตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้านั้นต่อเลขาธิการ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่เลขาธิการกำหนด ข้อ ๖[๑๑] ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งเรื่องการยกเลิกข้อตกลงให้สำนักงานทราบล่วงหน้าอย่างน้อยเจ็ดวันก่อนวันยกเลิกข้อตกลง เว้นแต่กรณีมีเหตุจำเป็นและสมควรโดยได้รับความเห็นชอบจากเลขาธิการ ข้อ ๖/๑[๑๒] ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งการเริ่มและการหยุดปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าของเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าซึ่งปฏิบัติงานให้ตนต่อสำนักงาน ตามแบบและ/หรือวิธีการอื่นตามที่สำนักงานกำหนด ภายในเจ็ดวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่เริ่มหรือหยุดปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๗ ในกรณีที่มีข้อร้องเรียนจากลูกค้า ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนอย่างเต็มความสามารถ หลังจากนั้น ให้สรุปผลการดำเนินการและรายงานให้นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าพร้อมสำเนาให้สำนักงานทราบภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันสิ้นเดือนของทุกเดือน ข้อ ๘[๑๓] ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดเก็บเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าหรือเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าให้ครบถ้วนอย่างน้อยเป็นระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่มีเอกสารและหลักฐานนั้นหรือวันที่มีการซื้อขายล่วงหน้า แล้วแต่กรณี โดยในสองปีแรกของระยะเวลาดังกล่าวตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดเก็บเอกสารและหลักฐานดังกล่าวไว้ ณ ที่ทำการของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่พร้อมให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ตลอดเวลา เว้นแต่สำนักงานจะกำหนดเป็นอย่างอื่น ทั้งนี้ หากมีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าและการดำเนินการกับข้อร้องเรียนยังไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าวให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจัดเก็บบันทึก เอกสารและหลักฐานเกี่ยวกับการดำเนินการดังกล่าวไว้ต่อไปจนกว่าการดำเนินการกับข้อร้องเรียนจะแล้วเสร็จ การจัดเก็บเอกสารและหลักฐานดังกล่าว ให้รวมถึงข้อมูลซึ่งได้กระทำทางโทรศัพท์หรือทางระบบอื่นใดที่สามารถใช้เป็นหลักฐานได้ด้วย ข้อ ๙ ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าเรียกเก็บหรือรับค่าธรรมเนียมหรือค่าตอบแทนจากลูกค้าได้เท่าที่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้ามีสิทธิเรียกเก็บหรือรับจากลูกค้าตามที่กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกำหนด หมวด ๒ การแสดงตนเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๐ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งให้ลูกค้ารายใหม่ทราบถึงความเสี่ยงค่าใช้จ่ายและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการซื้อขายล่วงหน้า กลไกการซื้อขาย กฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สิทธิและหน้าที่ของลูกค้าอย่างถูกต้องและครบถ้วน โดยลูกค้าต้องลงลายมือชื่อเพื่อรับทราบและเข้าใจด้วย ข้อ ๑๑ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ให้ข้อมูลอันเป็นเท็จเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่และภาระผูกพันของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้าหรือบุคคลทั่วไป หรือแสดงตนเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับการค้ำประกันหรือการรับรองจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือสำนักงาน เว้นแต่เป็นการแสดงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๒ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี้ (๑) รับรองผลตอบแทนจากการซื้อขายล่วงหน้าแก่ลูกค้า (๒) รับประกันความเสียหายหรือผลขาดทุนที่เกิดจากการซื้อขายล่วงหน้า (๓) รับรองว่าจะไม่เรียกเก็บเงินประกันขั้นต่ำหรือเรียกเงินประกันเพิ่มเติม (๔) กล่าวอ้าง รับรองหรือสัญญาใด ๆ อันมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับ (๑) (๒) และ (๓) ข้อ ๑๓ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ทำสัญญาใด ๆ เพื่อยกเลิกหรือจำกัดความรับผิดของตนเองที่มีหน้าที่ต้องปฏิบัติต่อลูกค้าตามที่พระราชบัญญัติ และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกำหนด ข้อ ๑๔ ในกรณีที่ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าถูกพักใช้หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ห้ามแสดงตนเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต่อลูกค้าหรือบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งเหตุตามวรรคหนึ่งให้ลูกค้าทราบโดยไม่ชักช้า โดยให้ลูกค้าติดต่อโดยตรงกับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลง หมวด ๓ การจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้า ข้อ ๑๕ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจะต้องจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าให้แก่นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลงเท่านั้น ข้อ ๑๖ ในการจัดหาคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจัดให้มีเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด และต้องตรวจสอบดูแลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้านั้นด้วย ข้อ ๑๗ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการตามสมควรเพื่อแสดงข้อมูลและหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรตามความเป็นจริง โดยอย่างน้อยให้ลูกค้าทราบถึงบทบาท หน้าที่และธุรกิจของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า สถานที่และหมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้ รวมถึงนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลงและองค์กรกำกับดูแลธุรกิจของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๘ การขอเปิดบัญชีซื้อขายล่วงหน้าและการทำสัญญาระหว่างนายหน้าซื้อขายล่วงหน้ากับลูกค้า ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าจะต้องมั่นใจว่า (๑) ได้รับข้อมูลหรือเอกสารหรือหลักฐานเพียงพอที่แสดงอย่างชัดเจนถึงความประสงค์ของลูกค้าในการซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการประกันความเสี่ยง และ/หรือเพื่อการเก็งกำไร ความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า การประกอบอาชีพของลูกค้า ฐานะทางการเงิน ข้อจำกัดในการซื้อขายของลูกค้าและความสามารถในการวางเงินประกันและชำระหนี้ของลูกค้า (๒) ลูกค้าเป็นบุคคลเดียวกับที่ปรากฏตามเอกสารและหลักฐานที่ใช้ประกอบการขอเปิดบัญชีซื้อขายล่วงหน้าข้างต้น ข้อ ๑๘/๑[๑๔] ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าของลูกค้ามีลักษณะผิดปกติหรืออาจเข้าข่ายการซื้อขายที่ไม่เหมาะสมหรือผิดกฎหมาย ให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าตรวจสอบคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าก่อน และหากพบสิ่งผิดปกติกับคำสั่งดังกล่าว ห้ามมิให้ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าส่งคำสั่งดังกล่าวไปยังนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าที่ทำข้อตกลงกัน ข้อ ๑๙ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องตรวจสอบว่าบุคคลที่ส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าเป็นเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริง หรือเป็นบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริงเท่านั้น ข้อ ๒๐ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าของลูกค้าให้กับนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลงโดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ทั้งนี้ ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าต้องคำนึงถึงประโยชน์ของลูกค้าก่อนประโยชน์ของตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า โดยต้องส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าเพื่อลูกค้าก่อนตนเอง ข้อ ๒๑ การส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าไปยังนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าซึ่งผูกพันกันตามข้อตกลงต้องเป็นไปตามคำสั่งของลูกค้าที่เป็นเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริงหรือบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริง และต้องไม่ใช้บัญชีซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้ารายหนึ่งส่งคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายล่วงหน้าเพื่อลูกค้ารายอื่นที่ไม่ใช่เจ้าของบัญชีซื้อขายล่วงหน้าที่แท้จริง ข้อ ๒๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ วัฒนา เมืองสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๑๕] ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓)[๑๖] ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๑๗] ข้อ ๙ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใดๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕)[๑๘] ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว อุษมล/ผู้จัดทำ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ ณัฐพร/ผู้ตรวจ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๑๙๙/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๒] ข้อ ๑ นิยามคำว่า “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๓] ข้อ ๑ นิยามคำว่า “ประสบการณ์ในการทำงาน” ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๔] ข้อ ๑ นิยามคำว่า “ส่วนของผู้ถือหุ้น” ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๕] ข้อ ๑ นิยามคำว่า “พระราชบัญญัติ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๖] ข้อ ๒ (๒) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๗] ข้อ ๒ (๔) ยกเลิกโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๘] ข้อ ๒ (๖) แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕) [๙] ข้อ ๔/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๐] ข้อ ๔/๒ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๑] ข้อ ๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๒] ข้อ ๖/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๓] ข้อ ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) [๑๔] ข้อ ๑๘/๑ เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) [๑๕] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๒๐๘/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๑๖] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๒๑๕/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๑๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๗๘ ง/หน้า ๒๑๙/๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ [๑๘] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๓๔/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
629156
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ 2/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ให้จัดการเงินทุนส่วนบุคคลให้แก่บุคคลแต่ละรายตั้งแต่ห้ารายขึ้นไป หรือคณะบุคคลตั้งแต่หนึ่งคณะเพื่อแสวงหาประโยชน์จากการซื้อขายล่วงหน้า “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อำนวยการฝ่าย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าการปฏิบัติการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือการวิจัยด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือสายงานอื่นในทำนองเดียวกัน “ลูกค้า” หมายความว่า ผู้ที่ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าติดต่อ ชักชวนหรือให้คำแนะนำในการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล และให้หมายความรวมถึงผู้ที่มอบหมายให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าจัดการเงินทุนส่วนบุคคลด้วย “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “พระราชบัญญัติ” หมายความว่า พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ “สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ ๓ นอกจากที่ระบุไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้สำนักงานมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่กำหนดในประกาศนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติและเพื่อให้สำนักงานสามารถตรวจสอบการปฏิบัตินั้นได้ หมวด ๑ การดำรงคุณสมบัติ ระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจ ข้อ ๔ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติตลอดระยะเวลาของการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ข้อ ๕ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องมีระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองและรักษาประโยชน์ของลูกค้า อย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) โครงสร้างองค์กรที่มีการแบ่งแยกหน่วยงาน ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน (๒) ระบบงานในการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ได้แก่ (ก) ระบบการรับลูกค้า การสอบทานความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลและการตรวจสอบความมีตัวตนของลูกค้า (ข) ระบบการจัดการลงทุน (ค) ระบบปฏิบัติการด้านงานสนับสนุน (Back Office) (ง) ระบบการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (จ) ระบบการจัดเก็บเอกสารและหลักฐานในการซื้อขายล่วงหน้า (๓) มาตรการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์และการเอาเปรียบลูกค้า (๔) การบริหารความเสี่ยง ข้อ ๖ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดให้มีผู้ทำหน้าที่ติดต่อลูกค้าและผู้ทำหน้าที่บริหารการลงทุนที่มีคุณสมบัติ หน้าที่และความรับผิดชอบ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๗ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งการแต่งตั้งบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการให้เลขาธิการทราบภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่แต่งตั้ง หมวด ๒ การติดต่อชักชวนลูกค้าและการจัดการทรัพย์สินของลูกค้า ข้อ ๘ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องส่งร่างเอกสารเปิดเผยข้อมูล (Disclosure Document) ซึ่งมีสาระสำคัญตามที่สำนักงานกำหนดให้สำนักงานพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนแสดงต่อลูกค้า ในกรณีที่มีการแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลที่มีความสำคัญหรือมีนัยสำคัญในเอกสารเปิดเผยข้อมูลผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องได้รับความเห็นชอบในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นจากสำนักงาน สำนักงานจะแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าทราบภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่สำนักงานได้รับเอกสารดังกล่าว หากสำนักงานมิได้แจ้งผลเมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าสำนักงานเห็นชอบแล้ว ข้อ ๙ ในการติดต่อชักชวนลูกค้าเพื่อเสนอการบริการให้แก่บุคคลดังกล่าว ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องแสดงเอกสารเปิดเผยข้อมูลที่สำนักงานให้ความเห็นชอบแล้วต่อลูกค้าและให้ถือว่าเอกสารเปิดเผยข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลที่ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องถือปฏิบัติ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดการให้ลูกค้าลงลายมือชื่อในเอกสารเปิดเผยข้อมูลเป็นหลักฐานก่อนเข้าทำสัญญาการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล เพื่อแสดงว่ามีความรู้ความเข้าใจในเอกสารเปิดเผยข้อมูลแล้ว ข้อ ๑๐ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องได้รับข้อมูลจากลูกค้าอย่างเพียงพอ (Know Your Clients) โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการลงทุนของลูกค้า ประสบการณ์ในการลงทุน ฐานะทางการเงิน ภาระทางการเงิน ความต้องการและข้อจำกัดการลงทุนและข้อมูลอื่น ที่ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าเห็นว่าจำเป็น ก่อนเสนอนโยบายการลงทุนที่เหมาะสมให้แก่บุคคลดังกล่าว ข้อ ๑๑ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดการเงินทุนส่วนบุคคลให้เป็นไปตามนโยบายการลงทุนที่กำหนดไว้ในสัญญาการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลที่ได้ทำไว้กับลูกค้า ในการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลให้แก่คณะบุคคลใด คณะบุคคลนั้นจะต้องประกอบด้วยบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลรวมกันไม่เกินสามสิบห้าราย ข้อ ๑๒ ให้สำนักงานมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าถือปฏิบัติเกี่ยวกับประเภท สัดส่วนการลงทุนในทรัพย์สินประเภทอื่นนอกเหนือจากการซื้อขายล่วงหน้าและข้อกำหนดอื่นใดเกี่ยวกับการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองผู้ลงทุนหรือเพื่อให้มีมาตรฐานการดำเนินงานเป็นอย่างเดียวกัน หมวด ๓ การดูแลทรัพย์สินของลูกค้า ข้อ ๑๓ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องจัดให้มีผู้รับฝากทรัพย์สินที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๑๔ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องแยกทรัพย์สินของลูกค้าออกจากทรัพย์สินของตน โดยนำทรัพย์สินของลูกค้าไปฝากไว้กับผู้รับฝากทรัพย์สิน หมวด ๔ การวัดผลการดำเนินงาน การเปิดเผยและการรายงาน ข้อ ๑๕ ในการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) คำนวณมูลค่าเงินลงทุนในข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าและวัดผลการดำเนินงานของการบริหารและจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดโดยสำนักงานหรือสมาคมวิชาชีพที่สำนักงานให้การยอมรับ (๒) เปิดเผยข้อมูลการลงทุน ผลการดำเนินงาน หลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณมูลค่าเงินลงทุนในข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าและข้อมูลอื่นใดที่มีผลกระทบต่อการบริหารและจัดการเงินทุนส่วนบุคคลให้ลูกค้าแต่ละรายทราบ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดโดยสำนักงานหรือสมาคมวิชาชีพที่สำนักงานให้การยอมรับ (๓) จัดทำและส่งรายงานดังต่อไปนี้ให้แก่สำนักงาน (ก) รายงานฐานะทางการเงินและงบการเงินของผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า (ข) รายงานข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารและจัดการเงินทุนส่วนบุคคล (ค) รายงานอื่น ๆ ตามที่สำนักงานกำหนด การจัดทำและส่งรายงานตาม (๓) ต้องมีสาระสำคัญและส่งภายในระยะเวลาตามที่สำนักงานกำหนด หมวด ๕ การประกอบธุรกิจอื่น ข้อ ๑๖ ห้ามมิให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าประกอบธุรกิจอื่นใด เว้นแต่ธุรกิจ ดังต่อไปนี้ (๑) ธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติ ประเภทที่ได้รับอนุญาต (๒) ธุรกิจอื่นที่มีลักษณะครบถ้วนดังนี้ (ก) มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่ไม่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลอย่างเพียงพอ (ข) มีระบบในการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลอย่างเพียงพอ (ค) เป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติประเภทที่ได้รับอนุญาต โดยสนับสนุนการให้บริการให้มีความสมบูรณ์และครบวงจรยิ่งขึ้น หรือเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่างๆ ของผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าให้เกิดประโยชน์ยิ่งขึ้น (๓) ธุรกิจอื่น ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด หมวด ๖ การมอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานแทน (Outsourcing) ข้อ ๑๗ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าจะมอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานแทนตนในเรื่องการจัดการเงินทุน การตัดสินใจซื้อขายล่วงหน้า การติดต่อชักชวนลูกค้าและงานสนับสนุนก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด การมอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานแทนตนตามวรรคหนึ่ง ไม่ทำให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าพ้นจากความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก คณะกรรมการ ก.ส.ล. และสำนักงาน หมวด ๗ ข้อปฏิบัติอื่นของผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๑๘ ห้ามผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าแสดงว่าตนได้รับการค้ำประกันหรือการรับรองจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือสำนักงาน เว้นแต่เป็นการแสดงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการได้รับอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ข้อ ๑๙ ในกรณีที่ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าถูกพักใช้หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ห้ามแสดงตนเป็นผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต่อลูกค้า ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งการถูกพักใช้หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตดังกล่าวให้ลูกค้าทราบโดยไม่ชักช้า ข้อ ๒๐ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องตรวจสอบดูแลการปฏิบัติงานของพนักงานหรือบุคลากรของตนให้เป็นไปตามจรรยาบรรณและตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๒๑ ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่ทำสัญญาใด ๆ เพื่อยกเลิกหรือจำกัดความรับผิดชอบของตนเองที่มีหน้าที่ต้องปฏิบัติต่อลูกค้าของตนตามที่พระราชบัญญัติและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกำหนด ข้อ ๒๒ ในการปฏิบัติตามข้อ ๕ ข้อ ๘ ถึงข้อ ๑๑ และข้อ ๑๓ ถึงข้อ ๑๗ ให้ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ในเรื่องเดียวกันที่กำหนดตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าโดยอนุโลม ในการส่งรายงานตามข้อ ๑๕ (๓) ให้แก่สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าต้องส่งสำเนารายงานนั้นให้แก่สำนักงานภายในระยะเวลาเดียวกันกับที่สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. กำหนด ให้ถือว่าการปฏิบัติตามวรรคหนึ่งและวรรคสองของผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าเป็นการปฏิบัติตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นันท์นภัสร์/ตรวจ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๔๗/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
629150
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ 1/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าเพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กบ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุน ซื้อขายล่วงหน้าเพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล[๑] โดยที่เป็นการสมควรส่งเสริมให้นิติบุคคลซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเงินทุนได้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลอันจะเป็นกลไกที่สนับสนุนให้เกิดสภาพคล่องในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทยมากขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อำนวยการฝ่าย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าการปฏิบัติการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือการวิจัยด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือสายงานอื่นในทำนองเดียวกัน “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “พระราชบัญญัติ” หมายความว่า พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๒ ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (๑) คุณสมบัติทั่วไป ได้แก่ (ก) มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า ตามพระราชบัญญัติและมีฐานะทางการเงินมั่นคง (ข) มีบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติ (ค) ประวัติและลักษณะการดำเนินธุรกิจที่ผ่านมาของผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตไม่มีข้อบกพร่องหรือขาดความรับผิดชอบหรือความรอบคอบในการบริหารงาน (ง) มีความเชี่ยวชาญและความชำนาญในการซื้อขายล่วงหน้า (๒) คุณสมบัติเฉพาะ ได้แก่ ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และไม่อยู่ระหว่างการยื่นคำขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายดังกล่าว ข้อ ๓ ให้ผู้ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ยื่นคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทดังกล่าว พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตตามแบบคำขออนุญาตที่สำนักงานกำหนด โดยยื่นต่อเลขาธิการ ณ สำนักงาน ข้อ ๔ ให้เลขาธิการพิจารณาคำขออนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล และเอกสารและหลักฐานประกอบคำขออนุญาตให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับคำขออนุญาตพร้อมเอกสารและหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน ในกรณีที่เลขาธิการเห็นสมควรอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ให้เลขาธิการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตภายในห้าวันทำการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่พิจารณาเห็นสมควรอนุญาตแต่หากเลขาธิการไม่อนุญาตให้ประกอบธุรกิจดังกล่าว ให้เลขาธิการแจ้งการไม่อนุญาตนั้นไปยังผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตภายในวันทำการถัดจากวันที่พิจารณาไม่อนุญาต ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าเพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ให้ใช้ได้เฉพาะตัว จะโอนกันไม่ได้ ข้อ ๕ ผู้ได้รับใบอนุญาตตามข้อ ๔ จะต้องประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลภายในเก้าสิบวัน นับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล โดยต้องทำให้ปรากฏแก่สำนักงานว่าระบบงานและความพร้อมในการประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลตามที่ได้แสดงไว้ในขณะที่ขออนุญาตประกอบธุรกิจดังกล่าวมีความสมบูรณ์ หากมีเหตุจำเป็น ผู้ได้รับใบอนุญาตอาจขอขยายระยะเวลาตามวรรคหนึ่งได้อีกเก้าสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ครบกำหนดระยะเวลาดังกล่าว โดยต้องขอขยายระยะเวลาต่อเลขาธิการก่อนระยะเวลานั้นสิ้นสุดลง ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตไม่สามารถดำเนินการได้ตามวรรคหนึ่ง หรือภายในเวลาที่เลขาธิการเห็นชอบให้ขยายตามวรรคสอง เลขาธิการอาจเพิกถอนใบอนุญาตดังกล่าวได้ ข้อ ๖ ในกรณีที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล สูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุดในสาระสำคัญให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้าเพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล ยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลต่อเลขาธิการภายในสิบห้าวันทำการ นับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุดดังกล่าว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๗ ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคล จะได้รับยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมสำหรับการดำเนินการเกี่ยวกับการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้บริหารธุรกิจร่วมทุนซื้อขายล่วงหน้า เพื่อการจัดการเงินทุนส่วนบุคคลจนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ทั้งนี้ สำนักงานจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามวรรคหนึ่ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นต้นไปในอัตราที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. จะกำหนดต่อไป ข้อ ๘ นอกจากที่ระบุไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้สำนักงานมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่กำหนดในประกาศนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติและเพื่อให้สำนักงานสามารถตรวจสอบการปฏิบัตินั้นได้ ข้อ ๙ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นันท์นภัสร์/ตรวจ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๔๓/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
629146
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ 1/2553 เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ การซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ การซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๒) และมาตรา ๓๕ (๘) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อำนวยการฝ่าย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าการปฏิบัติการด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า หรือการวิจัยด้านธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าหรือสายงานอื่นในทำนองเดียวกัน “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “สำนักงาน ก.ล.ต.” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ “คณะกรรมการ ก.ส.ล.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า “คณะกรรมการ ก.ล.ต.” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ “พระราชบัญญัติ” หมายความว่า พระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๒ ผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้า ที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าและผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) อยู่ระหว่างการยื่นขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เฉพาะกรณีที่ขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (๒) เคยหรืออยู่ระหว่างการถูกสั่งพักใช้หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสถาบันการเงินอื่นไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ ภายในระยะเวลาไม่เกินห้าปี โดยนับถึงวันที่ยื่นคำขออนุญาต (๓) เคยหรืออยู่ระหว่างการถูกร้องทุกข์หรือถูกกล่าวโทษโดยสำนักงาน สำนักงาน ก.ล.ต. หรือหน่วยงานกำกับดูแลสถาบันการเงินไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศในความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสถาบันการเงินอื่นไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ หรือมีประวัติเสียหายอย่างร้ายแรงตามกฎหมายดังกล่าว ภายในระยะเวลาไม่เกินห้าปี โดยนับถึงวันที่ยื่นคำขออนุญาต ข้อ ๓ บุคคลดังต่อไปนี้ ต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ ๔ (๑) บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้ค้าล่วงหน้า ผู้ค้าล่วงหน้าเพื่อการซื้อขายล่วงหน้าเป็นรายสินค้า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้า นายหน้าซื้อขายล่วงหน้าสำหรับผู้ขออนุญาตที่ประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้ว ที่ปรึกษาการซื้อขายล่วงหน้าที่เป็นนิติบุคคล ตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้าและผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (๒) ผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๔ บุคคลตามข้อ ๓ ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นบุคคลล้มละลาย (๒) เคยถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ (๓) เคยเป็นกรรมการ ผู้จัดการหรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๔) เคยเป็นกรรมการ ผู้จัดการหรือบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติ (๕) เคยถูกถอดถอนจากการเป็นประธานกรรมการ กรรมการหรือผู้จัดการของสถาบันการเงินใด เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๖) เคยถูกถอดถอนตามมาตรา ๖๐ แห่งพระราชบัญญัติ (๗) เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ (๘) อยู่ระหว่างการถูกร้องทุกข์หรือถูกกล่าวโทษโดยสำนักงานหรือสำนักงาน ก.ล.ต. ตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน ในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (ก) การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๙ มาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๑ มาตรา ๑๒๒ หรือมาตรา ๑๒๓ แห่งพระราชบัญญัติหรือตามมาตรา ๙๒ มาตรา ๙๔ มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ มาตรา ๙๗ มาตรา ๙๙ หรือมาตรา ๑๐๐ แห่งกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือตามมาตรา ๒๓๘ มาตรา ๒๓๙ มาตรา ๒๔๐ มาตรา ๒๔๑ หรือมาตรา ๒๔๓ แห่งกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ข) การบริหารงานเป็นการหลอกลวง ฉ้อฉลหรือทุจริต (ค) การจงใจแสดงข้อความเท็จอันเป็นสาระสำคัญหรือปกปิดข้อความจริงอันเป็นสาระสำคัญที่ควรบอกให้แจ้งในเอกสารใดที่ต้องเปิดเผยต่อประชาชนหรือต้องยื่นต่อสำนักงานสำนักงาน ก.ล.ต. คณะกรรมการ ก.ส.ล. คณะกรรมการกำกับตลาดทุนหรือคณะกรรมการ ก.ล.ต. (ง) ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจหลักทรัพย์หรือธุรกิจทรัสตีโดยไม่ได้รับอนุญาต (๙) อยู่ระหว่างการถูกร้องทุกข์หรือถูกกล่าวโทษโดยหน่วยงานกำกับดูแลสถาบันการเงินไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ เนื่องจากการบริหารโดยทุจริตและทำให้เกิดความเสียหาย ไม่ว่าจะต่อสถาบันการเงินที่ตนสังกัดหรือต่อลูกค้า (๑๐) เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกไม่ว่าศาลจะมีคำพิพากษาให้รอการลงโทษหรือไม่ก็ตามในความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุนในเรื่องดังต่อไปนี้ ภายในระยะเวลาไม่เกินห้าปี โดยนับถึงวันที่ขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการหรือขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าแล้วแต่กรณี หรือต้องคำพิพากษาดังกล่าวข้างต้นในเวลาใด ๆ เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (ก) การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๙ มาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๑ มาตรา ๑๒๒ หรือมาตรา ๑๒๓ แห่งพระราชบัญญัติหรือตามมาตรา ๙๒ มาตรา ๙๔ มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ มาตรา ๙๗ มาตรา ๙๙ หรือมาตรา ๑๐๐ แห่งกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือตามมาตรา ๒๓๘ มาตรา ๒๓๙ มาตรา ๒๔๐ มาตรา ๒๔๑ หรือมาตรา ๒๔๓ แห่งกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ข) การบริหารงานเป็นการหลอกลวง ฉ้อฉลหรือทุจริต (ค) การจงใจแสดงข้อความเท็จอันเป็นสาระสำคัญหรือปกปิดข้อความจริงอันเป็นสาระสำคัญที่ควรบอกให้แจ้งในเอกสารใดที่ต้องเปิดเผยต่อประชาชนหรือต้องยื่นต่อสำนักงานสำนักงาน ก.ล.ต. คณะกรรมการ ก.ส.ล. คณะกรรมการกำกับตลาดทุนหรือคณะกรรมการ ก.ล.ต. (ง) ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจหลักทรัพย์หรือธุรกิจทรัสตีโดยไม่ได้รับอนุญาต (๑๑) เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกไม่ว่าศาลจะมีคำพิพากษาให้รอการลงโทษหรือไม่ก็ตาม เนื่องจากการบริหารโดยทุจริตและทำให้เกิดความเสียหาย ไม่ว่าจะต่อสถาบันการเงินที่ตนสังกัดหรือต่อลูกค้า ภายในระยะเวลาไม่เกินห้าปี โดยนับถึงวันที่ขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการหรือขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าแล้วแต่กรณี หรือต้องคำพิพากษาดังกล่าวข้างต้นในเวลาใด ๆ เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๑๒) เคยเป็นกรรมการผู้จัดการหรือบุคคลผู้มีอำนาจในการจัดการของสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต ถูกควบคุมกิจการ ถูกระงับการดำเนินกิจการเนื่องจากแผนแก้ไขฟื้นฟูฐานะหรือการดำเนินงานไม่ผ่านความเห็นชอบของหน่วยงานกำกับดูแลสถาบันการเงินนั้นหรือของคณะกรรมการองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงินหรือถูกสั่งการให้แก้ไขฐานะทางการเงินที่เสียหายด้วยการลดทุนและมีการเพิ่มทุนในภายหลังโดยได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานหรือสถาบันการเงินของรัฐ ซึ่งตนมีส่วนก่อให้เกิดความเสียหายหรือต้องร่วมรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อสถาบันการเงินดังกล่าว ภายในระยะเวลาไม่เกินห้าปี โดยนับถึงวันที่ขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการหรือขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า แล้วแต่กรณี หรือตกเป็นบุคคลดังกล่าวข้างต้นในเวลาใด ๆ เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๑๓) เคยถูกห้าม พักหรือเพิกถอนการขึ้นทะเบียนหรือการปฏิบัติงานอย่างหนึ่งอย่างใดในการเป็นบุคลากรในธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือธุรกิจหลักทรัพย์ หรือเคยถูกห้าม พักหรือเพิกถอนการขึ้นทะเบียนหรือการปฏิบัติงานอื่นใดที่เทียบเคียงได้กับการเป็นบุคลากรในธุรกิจดังกล่าวตามคำสั่งของ สำนักงาน ก.ล.ต. หน่วยงานกำกับดูแลหรือองค์กรที่มีอำนาจตามกฎหมาย ไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ ภายในระยะเวลาไม่เกินห้าปี โดยนับถึงวันที่ขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการหรือขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าแล้วแต่กรณี หรือถูกห้าม พักหรือเพิกถอนดังกล่าวข้างต้นในเวลาใด ๆ เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. (๑๔) เคยสิ้นสุดการขึ้นทะเบียนกับสำนักงานในการเป็นบุคลากรของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า เนื่องจากไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎระเบียบของคณะกรรมการ ก.ส.ล. หรือสำนักงาน ในเรื่องเกี่ยวกับมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ ภายในระยะเวลาไม่เกินห้าปี โดยนับถึงวันที่ขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการหรือขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้าแล้วแต่กรณี หรือสิ้นสุดการขึ้นทะเบียนดังกล่าวข้างต้นในเวลาใด ๆ เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ส.ล. ข้อ ๕ บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าที่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ ๔ (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) (๑๒) (๑๓) และ (๑๔) ข้อหนึ่งข้อใดอยู่แล้วก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ จะไม่ถือว่าบุคคลดังกล่าวมีลักษณะต้องห้ามนั้นเมื่อประกาศนี้ผลใช้บังคับ ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นันท์นภัสร์/ตรวจ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๓๘/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
629144
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ 1/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๓ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๓ ผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการการซื้อขายล่วงหน้าตามประกาศนี้ ต้องเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าหรือธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานกำหนด” ข้อ ๓ บรรดาประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศข้อที่ถูกยกเลิกยังคงใช้บังคับได้ต่อไปโดยอนุโลม ทั้งนี้ จนกว่าจะถูกยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศ คำสั่งหรือข้อกำหนดที่ออกตามความในประกาศนี้ ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กจ ๔/๒๕๕๑ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นันท์นภัสร์/ตรวจ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๓๖/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
629138
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส 2/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุน การซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ (๖) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๖) มีบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๒/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นันท์นภัสร์/ตรวจ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ อุษมล/ปรับปรุง ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๓๔/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
629136
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส 1/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศฉบับนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนสนับสนุนการซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ (๖) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๖) มีบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม” ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กตส ๑/๒๕๔๗ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นันท์นภัสร์/ตรวจ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๓๒/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
629134
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต 2/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๒/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๕)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า จึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๒/๒๕๔๖” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๒/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๒/๒๕๔๘ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๒/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๕/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเป็นตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๒/๒๕๔๖ ข้อ ๓ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๒/๒๕๔๖ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นันท์นภัสร์/ตรวจ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๓๐/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
629130
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต 1/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาต เป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๔)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ (๑) และ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าจึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศฉบับนี้ “ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๔/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒ ให้ยกเลิกบทนิยาม “บุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการ” ตามความในข้อ ๒ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๒ บุคคลธรรมดาผู้ประสงค์จะขออนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ประเภทตัวแทนซื้อขายล่วงหน้า ต้องสำเร็จการอบรมเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้าจากสถาบันที่คณะกรรมการ ก.ส.ล. ให้การรับรองแล้ว และต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กธ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง ลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า และลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้มีอำนาจจัดการกิจการของผู้ที่จะขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าและผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม” ข้อ ๔ การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ที่ กต ๑/๒๕๔๖ ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของการใด ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้วตามประกาศที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ปริยานุช/ผู้จัดทำ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นันท์นภัสร์/ตรวจ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ [๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๖๖ ง/หน้า ๒๘/๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓